กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทำนบ


“ โครงการรู้เท่าทันการใช้ยาในการดูแลตนเอง และครอบครัว ตำบลทำนบ อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา ประจำปี 2565 ”

ตำบลทำนบ อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นายประกอบ เกษาทร ประธานชมรม อสม. ตำบลทำนบ

ชื่อโครงการ โครงการรู้เท่าทันการใช้ยาในการดูแลตนเอง และครอบครัว ตำบลทำนบ อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา ประจำปี 2565

ที่อยู่ ตำบลทำนบ อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 65-L5264-2-16 เลขที่ข้อตกลง 16/2565

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2565 ถึง 30 กันยายน 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการรู้เท่าทันการใช้ยาในการดูแลตนเอง และครอบครัว ตำบลทำนบ อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา ประจำปี 2565 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทำนบ อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทำนบ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการรู้เท่าทันการใช้ยาในการดูแลตนเอง และครอบครัว ตำบลทำนบ อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา ประจำปี 2565



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการรู้เท่าทันการใช้ยาในการดูแลตนเอง และครอบครัว ตำบลทำนบ อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา ประจำปี 2565 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทำนบ อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 65-L5264-2-16 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2565 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 13,090.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทำนบ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ยาเป็นสิ่งจำเป็นที่เกี่ยวข้องกับชีวิตของทุกคน ปัจจุบันคนไทยหันมาดูแลใส่ใจสุขภาพมากขึ้น การเข้าถึงยาเป็นเรื่องง่าย ยาหลายชนิดสามารถหาซื้อได้เองตามร้านขายยา รวมถึงยาสามัญประจำบ้านบางชนิดยังซื้อได้ตามร้านสะดวกซื้ออีกด้วย บางครั้งการซื้อยาเองโดยไม่ได้รับคำแนะนำที่เหมาะสมอาจทำให้เกิดปัญหาการใช้ยาฟุ่มเฟือยตามมาคนส่วนใหญ่ไม่มีความรู้ในการเลือกใช้ยาจึงเกิดการใช้ยาไม่เหมาะสม ใช้ยาเกินจำเป็น ใช้ยาทั้งๆที่มีทางเลือกอื่น หรือไม่ใช้ยาเมื่อถึงเวลา ที่สมควรต้องใช้ประเทศไทยเข้าสู่สังคมผู้สูงวัย โดยธรรมชาติของผู้สูงอายุมักมีโรคประจำตัวหลากอย่าง จึงมีความจำเป็นต้องใช้ยาหลายชนิด ส่งผลให้เกิดแนวโน้มการใช้ยาฟุ่มเฟือยได้มาก ชมรม อสม.ตำบลทำนบได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของปัญหาการใช้ยา จึงได้จัดโครงการรู้เท่าทันการใช้ยาในการดูแลตนเอง และครอบครัว เพื่อให้ประชาชน มีความรู้ความเข้าใจ ในการใช้ยาได้อย่างถูกต้องตามหลักวิชาการ สามารถนำมาใช้ประโยชน์กับตนเองและบุคคลในครอบครัวได้ ต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ถึงประเภทของยา เข้าใจถึงการดูแลตนเองในการใช้ยาและผลกระทบจากยา
  2. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้และเข้าใจถึงโรคและการใช้ยาสำหรับโรคที่พบบ่อย
  3. เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของประชาชนและคนรอบข้างและนำไปสู่การใช้ยาที่เหมาะสมมากขึ้น

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุม คณะทำงานชมรมอสม.ตำบลทำนบ ที่ปรึกษาและหน่วยงานในพื้นที่เพื่อกำหนดแนว ทางการดำเนินงาน เขียนโครงการเพื่อเสนออนุมัติ
  2. กิจกรรมอบรมให้ความรู้/ให้คำแนะนำ /ติดตาม การใช้ยาในกลุ่มที่รับผิดชอบของ อสม. ในแต่ละหมู่บ้าน
  3. การประเมินผลติดตาม และ สรุปผลโครงการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 25
กลุ่มผู้สูงอายุ 25
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1 ผู้เข้าร่วมโครงการรู้ถึงประเภทของยาเข้าใจถึงการดูแลตนเองในการใช้ยาและผลกระทบจากยา 2 ผู้เข้าร่วมโครงการเข้าใจถึงโรคและการใช้ยาสำหรับโรคที่พบบ่อย
3 ผู้เข้าร่วมโครงการมีพฤติกรรมการใช้ยาที่ถูกต้องเหมาะสมมากขึ้น 4 ชาวบ้านได้รับคำแนะนำหรือมีการติดตามการใช้ยาของประชาชนในครอบครัวที่รับผิดชอบของ อสม.


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ประชุม คณะทำงานชมรมอสม.ตำบลทำนบ ที่ปรึกษาและหน่วยงานในพื้นที่เพื่อกำหนดแนว ทางการดำเนินงาน เขียนโครงการเพื่อเสนออนุมัติ

วันที่ 11 ธันวาคม 2564 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมคณะทำงานเพื่อทำความเข้าใจโครงการและวางแผนการดำเนินงาน - เขียนโครงการ เสนองบประมาณ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้นำโครงการและงบประมาณเสนอเพื่อขอรับการสนับสนุน

 

0 0

2. กิจกรรมอบรมให้ความรู้/ให้คำแนะนำ /ติดตาม การใช้ยาในกลุ่มที่รับผิดชอบของ อสม. ในแต่ละหมู่บ้าน

วันที่ 18 สิงหาคม 2565 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมอบรมให้ความรู้ เรื่อง รู้เท่าทันการใช้ยาในการดูแลตนเอง และครอบครัว และกิจกรรมให้คำแนะนำ/ติดตาม การใช้ยาในกลุ่มที่รับผิดชอบของกลุ่ม อสม. ในแต่ละหมู่บ้าน งบประมาณ 1.ค่าป้ายโครงการ ฯ ขนาด 1.2 x3.0 เมตร จำนวน 1ป้าย เป็นเงิน 540 บาท 2. ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 50 คน ๆละ 50 บาท เป็นเงิน 2,500 บาท 3. ค่าอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่ม จำนวน 2 มื้อ ๆละ 25 บาท จำนวน 50 คน เป็นเงิน 2,500 บาท 4. ค่าตอบแทนวิทยากร จำนวน 3ชม. ๆละ 600 บาท เป็นเงิน 1,800 บาท 5. ค่าเช่าเครื่องเสียง โต๊ะเก้าอี้ เป็นเงิน 2,000 บาท 6.ค่าจัดทำเอกสารประกอบการอบรม จำนวน 50 ชุด ๆละ 25บาท เป็นเงิน 1,250 บาท 7.ค่าวัสดุ/อุปกรณ์และอื่นๆ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.ผู้เข้าร่วมมีรู้ถึงประเภทของยา เข้าใจถึงการดูแลตนเองในการใช้ยาและผลกระทบจากยา 2.ผู้เข้าร่วมเข้าใจถึงและการใช้ยาสำหรับโรคที่พบบ่อย 3.ชาวบ้านได้รับการแนะนำ หรือมีการติดตามการใช้ของประชาชนในครอบครัวที่รับผิดชอบของ อสม.

 

0 0

3. การประเมินผลติดตาม และ สรุปผลโครงการ

วันที่ 30 กันยายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

-ประเมินผลความก้าวหน้าของโครงการ
- รายงานผลประเมินโครงการ -สรุปผลการดำเนินโครงการ
- จัดทำรูปเล่มสรุปโครงการรายงานผลต่อประธานกองทุนฯ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-รายงานผลการประเมินโครงการ -รายงานผลต่อประธานกองทุนฯ

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ถึงประเภทของยา เข้าใจถึงการดูแลตนเองในการใช้ยาและผลกระทบจากยา
ตัวชี้วัด : ประชาชนมีความรู้ถึงประเภทของยา เข้าใจถึงการดูแลตนเองในการใช้ยาและผลกระทบจากยา
40.00 90.00 90.00

 

2 เพื่อให้ประชาชนมีความรู้และเข้าใจถึงโรคและการใช้ยาสำหรับโรคที่พบบ่อย
ตัวชี้วัด : ประชาชนมีความรู้และเข้าใจถึงโรคและการใช้ยาสำหรับโรคที่พบบ่อย
50.00 100.00 100.00

 

3 เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของประชาชนและคนรอบข้างและนำไปสู่การใช้ยาที่เหมาะสมมากขึ้น
ตัวชี้วัด :
20.00 50.00 50.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 25 25
กลุ่มผู้สูงอายุ 25 25
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ถึงประเภทของยา เข้าใจถึงการดูแลตนเองในการใช้ยาและผลกระทบจากยา (2) เพื่อให้ประชาชนมีความรู้และเข้าใจถึงโรคและการใช้ยาสำหรับโรคที่พบบ่อย (3) เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของประชาชนและคนรอบข้างและนำไปสู่การใช้ยาที่เหมาะสมมากขึ้น

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุม คณะทำงานชมรมอสม.ตำบลทำนบ ที่ปรึกษาและหน่วยงานในพื้นที่เพื่อกำหนดแนว ทางการดำเนินงาน เขียนโครงการเพื่อเสนออนุมัติ (2) กิจกรรมอบรมให้ความรู้/ให้คำแนะนำ /ติดตาม การใช้ยาในกลุ่มที่รับผิดชอบของ อสม. ในแต่ละหมู่บ้าน (3) การประเมินผลติดตาม และ สรุปผลโครงการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการรู้เท่าทันการใช้ยาในการดูแลตนเอง และครอบครัว ตำบลทำนบ อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา ประจำปี 2565 จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 65-L5264-2-16

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายประกอบ เกษาทร ประธานชมรม อสม. ตำบลทำนบ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด