พัฒนาศาสนสถานส่งเสริมสุขภาพ ( มัสยิด วัด และสำนักสงฆ์) ตำบลช้างเผือก ปีงบประมาณ 2565
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ พัฒนาศาสนสถานส่งเสริมสุขภาพ ( มัสยิด วัด และสำนักสงฆ์) ตำบลช้างเผือก ปีงบประมาณ 2565 ”
ตำบลช้างเผือก อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นางสาวนูรไซดะห์ สามะอาลี
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ช้างเผือก
สิงหาคม 2565
ชื่อโครงการ พัฒนาศาสนสถานส่งเสริมสุขภาพ ( มัสยิด วัด และสำนักสงฆ์) ตำบลช้างเผือก ปีงบประมาณ 2565
ที่อยู่ ตำบลช้างเผือก อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 65-L2475-1-3 เลขที่ข้อตกลง 6/2565
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2565 ถึง 31 สิงหาคม 2565
กิตติกรรมประกาศ
"พัฒนาศาสนสถานส่งเสริมสุขภาพ ( มัสยิด วัด และสำนักสงฆ์) ตำบลช้างเผือก ปีงบประมาณ 2565 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลช้างเผือก อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ช้างเผือก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
พัฒนาศาสนสถานส่งเสริมสุขภาพ ( มัสยิด วัด และสำนักสงฆ์) ตำบลช้างเผือก ปีงบประมาณ 2565
บทคัดย่อ
โครงการ " พัฒนาศาสนสถานส่งเสริมสุขภาพ ( มัสยิด วัด และสำนักสงฆ์) ตำบลช้างเผือก ปีงบประมาณ 2565 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลช้างเผือก อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 65-L2475-1-3 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2565 - 31 สิงหาคม 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 170,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ช้างเผือก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
กระทรวงสาธารณสุข มีนโยบายเร่งจัดระบบการส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรคประชาชนในพื้นที่ ๕ จังหวัดชายแดนใต้ ให้ทัดเทียมกับพื้นที่อื่นๆ โดยใช้ศาสนานำการพัฒนาและแก้ไขปัญหาสุขภาพในพื้นที่ให้สอดคล้องกับวิถีชีวิตและวัฒนธรรมของประชาชน เป็นหนึ่งในยุทธศาสตร์ที่สำคัญในการแก้ไขปัญหาความไม่สงบในจังหวัดชายแดนภาคใต้ ซึ่งมัสยิด วัด และสำนักสงฆ์ เป็นศูนย์รวมด้านวิถีชีวิตของชุมชนไทยพุทธและไทยมุสลิมและตั้งเป้าหมายดำเนินการให้เป็นต้นแบบองศาสนสถานส่งเสริมสุขภาพ ซึ่งในการดำเนินการจะพัฒนาทั้งด้านโครงสร้าง ด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมและการส่งเสริมสุขภาพโดยให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการตัดสินใจบริหารจัดการ เพื่อให้สอดคล้องกับปัญหาความต้องการของพื้นที่มากที่สุด ซึ่งจากผลการดำเนินงานพัฒนา ศาสนสถานตำบลช้างเผือก ปีงบประมาณ ๒๕๖๔ ที่ผ่านมา พบว่า มัสยิดส่งเสริมสุขภาพผ่านเกณฑ์ประเมินมัสยิดส่งเสริมสุขภาพร้อยละ ๕๗.๑๔ ผ่านเกณฑ์ระดับพื้นฐานร้อยละ ๒๑.๔๓ ผ่านเกณฑ์ระดับดีร้อยละ ๑๔.๒๙ และผ่านเกณฑ์ระดับดีมาก ร้อยละ ๒๑.๔๓ ซึ่งจะเห็นได้ว่ายังมีศาสนสถานอีกหลายแห่งที่ไม่ผ่านเกณฑ์ฯและพบว่าศาสนสถานส่วนใหญ่ยังมีปัญหาด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมและการส่งเสริมสุขภาพ ซึ่งจากปัญหาดังกล่าว ศาสนสถานจึงจำเป็นจะต้องมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านไอร์ซือเร๊ะ ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของปัญหาดังกล่าวและเพื่อสนองตามนโยบายกระทรวงสาธารณสุขจึงได้จัดทำ “โครงการพัฒนาศาสนสถานส่งเสริมสุขภาพ (มัสยิด วัด และ สำนักสงฆ์) ตำบลช้างเผือก ปีงบประมาณ ๒๕๖๕ โดยเน้นการจัดการด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมและการจัดกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพให้เอื้อต่อการมีสุขภาพอนามัยที่ดีของผู้นำศาสนาและผู้ประกอบศาสนกิจ โดยอาศัยการมีส่วนร่วมของชุมชน เพื่อพัฒนาให้ศาสนสถานเป็นแหล่งเรียนรู้และจัดกิจกรรมทางสุขภาพของประชาชนในพื้นที่ต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- พัฒนาศาสนสถานส่งเสริมสุขภาพ(มัสยิด,วัดและสำนักสงฆ์)ช้างเผือก ปี 2565
- พัฒนาศาสนสถานส่งเสริมสุขภาพ
- อบรมการพัฒนาศาสนสถานและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ศาสนสถาน เครือข่ายเพื่อพัฒนาศาสนสถานต้นแบบให้กับอิหม่าม กรรมการมัสยิดและประชาชน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
400
กลุ่มผู้สูงอายุ
400
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. พัฒนาศาสนสถานส่งเสริมสุขภาพ(มัสยิด,วัดและสำนักสงฆ์)ช้างเผือก ปี 2565
วันที่ 1 เมษายน 2565 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
1.จัดแต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนาศาสนสถานระดับตำบล
2.จัดอบรมการพัฒนาศาสนสถานส่งเสริมสุขภาพและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ศาสนสถานเครือข่ายเพื่อพัฒนาสู่ศสานสถานต้นแบบ
3.ประเมินศาสนสถานเป้าหมายในพื้นที่ก่อนดำเนินการ
4.กิจกรรมพัฒนาศาสนสถานส่งเสริมสุขภาพ
5.ติดตามการดำเนินงานพัฒนาศาสนสถาน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
1.มัสยิด วัด และ สำนักสงฆ์ ทุกแห่งเป็นแหล่งที่มีการสร้างสุขภาวะที่ดีภายใต้การจัดการด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมที่ถูกต้อง และส่งผลให้ประชาชนที่มาใช้บริการ มีพฤติกรรมด้านส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมที่ดี ส่งผลให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
2.มัสยิด วัดและสำนักสงฆ์ เป้าหมายในตำบลช้างเผือกผ่านเกณฑ์ศาสนสถานส่งเสริมสุขภาพร้อยละ 100
3.ผู้นำศาสนมและประชาชนผู้ใช้บริการศาสนสถานได้รับการส่งเสริมและสนับสนุนให้มีสุขภาพอนามัยที่ดี
0
0
2. อบรมการพัฒนาศาสนสถานและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ศาสนสถาน เครือข่ายเพื่อพัฒนาศาสนสถานต้นแบบให้กับอิหม่าม กรรมการมัสยิดและประชาชน
วันที่ 1 มิถุนายน 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
J
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
J
800
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
800
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
400
กลุ่มผู้สูงอายุ
400
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) พัฒนาศาสนสถานส่งเสริมสุขภาพ(มัสยิด,วัดและสำนักสงฆ์)ช้างเผือก ปี 2565 (2) พัฒนาศาสนสถานส่งเสริมสุขภาพ (3) อบรมการพัฒนาศาสนสถานและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ศาสนสถาน เครือข่ายเพื่อพัฒนาศาสนสถานต้นแบบให้กับอิหม่าม กรรมการมัสยิดและประชาชน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
พัฒนาศาสนสถานส่งเสริมสุขภาพ ( มัสยิด วัด และสำนักสงฆ์) ตำบลช้างเผือก ปีงบประมาณ 2565 จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 65-L2475-1-3
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวนูรไซดะห์ สามะอาลี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ พัฒนาศาสนสถานส่งเสริมสุขภาพ ( มัสยิด วัด และสำนักสงฆ์) ตำบลช้างเผือก ปีงบประมาณ 2565 ”
ตำบลช้างเผือก อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นางสาวนูรไซดะห์ สามะอาลี
สิงหาคม 2565
ที่อยู่ ตำบลช้างเผือก อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 65-L2475-1-3 เลขที่ข้อตกลง 6/2565
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2565 ถึง 31 สิงหาคม 2565
กิตติกรรมประกาศ
"พัฒนาศาสนสถานส่งเสริมสุขภาพ ( มัสยิด วัด และสำนักสงฆ์) ตำบลช้างเผือก ปีงบประมาณ 2565 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลช้างเผือก อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ช้างเผือก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
พัฒนาศาสนสถานส่งเสริมสุขภาพ ( มัสยิด วัด และสำนักสงฆ์) ตำบลช้างเผือก ปีงบประมาณ 2565
บทคัดย่อ
โครงการ " พัฒนาศาสนสถานส่งเสริมสุขภาพ ( มัสยิด วัด และสำนักสงฆ์) ตำบลช้างเผือก ปีงบประมาณ 2565 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลช้างเผือก อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 65-L2475-1-3 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2565 - 31 สิงหาคม 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 170,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ช้างเผือก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
กระทรวงสาธารณสุข มีนโยบายเร่งจัดระบบการส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรคประชาชนในพื้นที่ ๕ จังหวัดชายแดนใต้ ให้ทัดเทียมกับพื้นที่อื่นๆ โดยใช้ศาสนานำการพัฒนาและแก้ไขปัญหาสุขภาพในพื้นที่ให้สอดคล้องกับวิถีชีวิตและวัฒนธรรมของประชาชน เป็นหนึ่งในยุทธศาสตร์ที่สำคัญในการแก้ไขปัญหาความไม่สงบในจังหวัดชายแดนภาคใต้ ซึ่งมัสยิด วัด และสำนักสงฆ์ เป็นศูนย์รวมด้านวิถีชีวิตของชุมชนไทยพุทธและไทยมุสลิมและตั้งเป้าหมายดำเนินการให้เป็นต้นแบบองศาสนสถานส่งเสริมสุขภาพ ซึ่งในการดำเนินการจะพัฒนาทั้งด้านโครงสร้าง ด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมและการส่งเสริมสุขภาพโดยให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการตัดสินใจบริหารจัดการ เพื่อให้สอดคล้องกับปัญหาความต้องการของพื้นที่มากที่สุด ซึ่งจากผลการดำเนินงานพัฒนา ศาสนสถานตำบลช้างเผือก ปีงบประมาณ ๒๕๖๔ ที่ผ่านมา พบว่า มัสยิดส่งเสริมสุขภาพผ่านเกณฑ์ประเมินมัสยิดส่งเสริมสุขภาพร้อยละ ๕๗.๑๔ ผ่านเกณฑ์ระดับพื้นฐานร้อยละ ๒๑.๔๓ ผ่านเกณฑ์ระดับดีร้อยละ ๑๔.๒๙ และผ่านเกณฑ์ระดับดีมาก ร้อยละ ๒๑.๔๓ ซึ่งจะเห็นได้ว่ายังมีศาสนสถานอีกหลายแห่งที่ไม่ผ่านเกณฑ์ฯและพบว่าศาสนสถานส่วนใหญ่ยังมีปัญหาด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมและการส่งเสริมสุขภาพ ซึ่งจากปัญหาดังกล่าว ศาสนสถานจึงจำเป็นจะต้องมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านไอร์ซือเร๊ะ ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของปัญหาดังกล่าวและเพื่อสนองตามนโยบายกระทรวงสาธารณสุขจึงได้จัดทำ “โครงการพัฒนาศาสนสถานส่งเสริมสุขภาพ (มัสยิด วัด และ สำนักสงฆ์) ตำบลช้างเผือก ปีงบประมาณ ๒๕๖๕ โดยเน้นการจัดการด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมและการจัดกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพให้เอื้อต่อการมีสุขภาพอนามัยที่ดีของผู้นำศาสนาและผู้ประกอบศาสนกิจ โดยอาศัยการมีส่วนร่วมของชุมชน เพื่อพัฒนาให้ศาสนสถานเป็นแหล่งเรียนรู้และจัดกิจกรรมทางสุขภาพของประชาชนในพื้นที่ต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- พัฒนาศาสนสถานส่งเสริมสุขภาพ(มัสยิด,วัดและสำนักสงฆ์)ช้างเผือก ปี 2565
- พัฒนาศาสนสถานส่งเสริมสุขภาพ
- อบรมการพัฒนาศาสนสถานและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ศาสนสถาน เครือข่ายเพื่อพัฒนาศาสนสถานต้นแบบให้กับอิหม่าม กรรมการมัสยิดและประชาชน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 400 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | 400 | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. พัฒนาศาสนสถานส่งเสริมสุขภาพ(มัสยิด,วัดและสำนักสงฆ์)ช้างเผือก ปี 2565 |
||
วันที่ 1 เมษายน 2565 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ1.จัดแต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนาศาสนสถานระดับตำบล 2.จัดอบรมการพัฒนาศาสนสถานส่งเสริมสุขภาพและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ศาสนสถานเครือข่ายเพื่อพัฒนาสู่ศสานสถานต้นแบบ 3.ประเมินศาสนสถานเป้าหมายในพื้นที่ก่อนดำเนินการ 4.กิจกรรมพัฒนาศาสนสถานส่งเสริมสุขภาพ 5.ติดตามการดำเนินงานพัฒนาศาสนสถาน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น1.มัสยิด วัด และ สำนักสงฆ์ ทุกแห่งเป็นแหล่งที่มีการสร้างสุขภาวะที่ดีภายใต้การจัดการด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมที่ถูกต้อง และส่งผลให้ประชาชนที่มาใช้บริการ มีพฤติกรรมด้านส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมที่ดี ส่งผลให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น 2.มัสยิด วัดและสำนักสงฆ์ เป้าหมายในตำบลช้างเผือกผ่านเกณฑ์ศาสนสถานส่งเสริมสุขภาพร้อยละ 100 3.ผู้นำศาสนมและประชาชนผู้ใช้บริการศาสนสถานได้รับการส่งเสริมและสนับสนุนให้มีสุขภาพอนามัยที่ดี
|
0 | 0 |
2. อบรมการพัฒนาศาสนสถานและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ศาสนสถาน เครือข่ายเพื่อพัฒนาศาสนสถานต้นแบบให้กับอิหม่าม กรรมการมัสยิดและประชาชน |
||
วันที่ 1 มิถุนายน 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำJ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นJ
|
800 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย |
---|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 800 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 400 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 400 | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) พัฒนาศาสนสถานส่งเสริมสุขภาพ(มัสยิด,วัดและสำนักสงฆ์)ช้างเผือก ปี 2565 (2) พัฒนาศาสนสถานส่งเสริมสุขภาพ (3) อบรมการพัฒนาศาสนสถานและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ศาสนสถาน เครือข่ายเพื่อพัฒนาศาสนสถานต้นแบบให้กับอิหม่าม กรรมการมัสยิดและประชาชน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
พัฒนาศาสนสถานส่งเสริมสุขภาพ ( มัสยิด วัด และสำนักสงฆ์) ตำบลช้างเผือก ปีงบประมาณ 2565 จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 65-L2475-1-3
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวนูรไซดะห์ สามะอาลี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......