กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาโยงใต้


“ โครงการ อสม.ร่วมใจ ต้านภัย โควิด-19 ประจำปี 2565 ”

ตำบลนาโยงใต้ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นางวรรณดี สุขมาก

ชื่อโครงการ โครงการ อสม.ร่วมใจ ต้านภัย โควิด-19 ประจำปี 2565

ที่อยู่ ตำบลนาโยงใต้ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 65-L1497-02-02 เลขที่ข้อตกลง 3/2565

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 25 มีนาคม 2565 ถึง 20 กันยายน 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ อสม.ร่วมใจ ต้านภัย โควิด-19 ประจำปี 2565 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาโยงใต้ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาโยงใต้ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ อสม.ร่วมใจ ต้านภัย โควิด-19 ประจำปี 2565



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการ อสม.ร่วมใจ ต้านภัย โควิด-19 ประจำปี 2565 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาโยงใต้ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 65-L1497-02-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 25 มีนาคม 2565 - 20 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 74,020.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาโยงใต้ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคโควิด๑๙ คือโรคติดต่อ ซึ่งเกิดจากไวรัสโคโรนาชนิดที่มีการค้นพบล่าสุด ไวรัสและโรคอุบัติใหม่นี้ ไม่เป็นที่รู้จักเลยก่อนที่จะมีการระบาดในเมืองอู่ฮั่นประเทศจีนในเดือนธันวาคมปี 2562 ขณะนี้โรคโควิด๑๙ มีการระบาดใหญ่ไปทั่วส่งผลกระทบแก่หลายประเทศทั่วโลก มีการกลายพันธุ์ เเละเเพร่จากคนสู่คน ผ่านทางฝอยละอองจากจมูก หรือปาก ซึ่งขับออกมาเมื่อผู้ป่วยพูดคุย ไอ หรือจาม เชื้อโรคฟุ้งกระจายเข้าสู่ร่างกายบุคคลอื่น โดยการหายใจเอาฝอยละอองเข้าไปหรือการสัมผัส พื้นผิวที่มีฝอยละอองเหล่านัน เเล้วมาสัมผัสใบหน้า (ตา จมุก ปาก) ระยะเวลานับจากการติดเชื้อเเละการเเสดงอาการ (ระยะฟักตัว) มีตั้งเเต่ 1-14 วััน และมีค่าเฉลี่ยอยู่ที่ 5-6 วัน เกิน 97% ของผู้ป่วยเริ่มมีอาการภายใน 14 วัน อาการสำคัญที่พบได้บ่อย คือ มีไข้ ปวดศีรษะ ไอ เจ็บคอ ถ่ายเหลว สูญเสียการดมกลิ่นหรือการรับรส บางรายอาจมีอาการปอดอักเสบรุนแรงถึงแก่ชีวิต โดยเฉพาะในผู้ที่มีโรคประจำตัว จากรายงานเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา กระทรวงสาธารณสุข ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2565 ถึงวันที่ 17 มีนาคม 2565 ประเทศไทยพบผู้ติดเชื้อแล้ว จํานวน 1,052,663 ราย มีรายงานผู้เสียชีวิตสะสม จํานวน 2,297 ราย จังหวัดตรัง พบผู้ป่วยจำนวน 5,683 ราย เสียชีวิตสะสม 33 ราย ตำบลนาโยงใต้ พบผู้ติดเชื้อแล้วจำนวน 283 ราย ยังไม่มีรายงานผู้เสียชีวิต การดำเนินงานเฝ้าระวัง ป้องกัน เเละควบคุมโรคโควิด-19 ให้ประสบความสำเร็จ เเละเกิดประสิทธิภาพนั้น จำเป้นต้องระดมความร่วมมือจากทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง ประชาชนทุกคนต้องปฏิบัติตามคำเเนะนำ ของกระทรวงสาธารณสุขอย่างเคร่งครัด สามารถเฝ้าระวัง สังเกตอาการผิดปกติ เเละคัดกรองโรคด้วยตนเองได้ ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (ชมรม อสม.) ตำบลนาโยงใต้ ตระหนักเเละเห็นความสำคัญ ของปัญหาดังกล่าว จึงไดจัดทำโครงการ อสม.ร่วมใจต้านภัยโรคโควิด-19 ประจำปี 2565 ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ประชาชนมีความรุ้ ความเข้าใจและมีส่วนร่วมในการเฝ้าระวัง ป้องกัน เเละควบคุมโรคโควิด-19
  2. เพื่อสร้างระบบการคัดกรอง เฝ้าระวัง ป้องกัน โรคโควิด-19 ในชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมภาคีเครือข่าย
  2. ประชุม อสม.
  3. จัดซื้อเวชภัณฑ์เเละวัสดุการเเพทย์ สำหรับการปฏิบัติงานของ อสม.
  4. ประชาสัมพันธ์ความรู้เรื่องโรคโควิด-19 ในชุมชน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 4,079
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. จัดทำแผนงาน/โครงการเพื่อขออนุมัติและการขอใช้งบประมาณ
  2. จัดประชุมเชิงปฏิบัติการภาคีเครือข่าย เพื่อรับทราบสถานการณ์โรคและหาแนวทางแก้ไขปัญหาร่วมกัน
  3. ประชาสัมพันธ์ โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา-2019 (โควิด-19) ในชุมชน
  4. ค้นหา คัดกรองผู้ป่วยโรคโควิด-19 ในชุมชน

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ประชาชนมีความรุ้ ความเข้าใจและมีส่วนร่วมในการเฝ้าระวัง ป้องกัน เเละควบคุมโรคโควิด-19
ตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดที่ 1 ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคโควิด-19 ร้อยละ 100
0.00

 

2 เพื่อสร้างระบบการคัดกรอง เฝ้าระวัง ป้องกัน โรคโควิด-19 ในชุมชน
ตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดที่ 1 หมู่บ้านมีการดำเนินงานคัดกรอง เฝ้าระวัง ป้องกัน โรคโควิด-19 ในชุมชน ร้อยละ 100 ตัวชี้วัดที่ 2 ประชาชนสามารถคัดกรองโรคโควิด-19 ด้วยตนเอง ร้อยละ 80
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 4079
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 4,079
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนมีความรุ้ ความเข้าใจและมีส่วนร่วมในการเฝ้าระวัง ป้องกัน เเละควบคุมโรคโควิด-19 (2) เพื่อสร้างระบบการคัดกรอง เฝ้าระวัง ป้องกัน โรคโควิด-19 ในชุมชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมภาคีเครือข่าย (2) ประชุม อสม. (3) จัดซื้อเวชภัณฑ์เเละวัสดุการเเพทย์ สำหรับการปฏิบัติงานของ อสม. (4) ประชาสัมพันธ์ความรู้เรื่องโรคโควิด-19 ในชุมชน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการ อสม.ร่วมใจ ต้านภัย โควิด-19 ประจำปี 2565 จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 65-L1497-02-02

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางวรรณดี สุขมาก )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด