กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เกาะจัน


“ โครงการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย รพ.สต.เกาะจัน อ.มายอ จ.ปัตตานี ปี 2565 ”

ตำบลเกาะจัน อำเภอมายอ จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางมาหลา เจ๊ะอูมา

ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย รพ.สต.เกาะจัน อ.มายอ จ.ปัตตานี ปี 2565

ที่อยู่ ตำบลเกาะจัน อำเภอมายอ จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 2565-L3001-01-02 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2565 ถึง 30 กันยายน 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย รพ.สต.เกาะจัน อ.มายอ จ.ปัตตานี ปี 2565 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเกาะจัน อำเภอมายอ จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เกาะจัน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย รพ.สต.เกาะจัน อ.มายอ จ.ปัตตานี ปี 2565



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย รพ.สต.เกาะจัน อ.มายอ จ.ปัตตานี ปี 2565 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเกาะจัน อำเภอมายอ จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 2565-L3001-01-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2565 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 27,400.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เกาะจัน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

พัฒนาการที่สมวัยเป็นเครื่องบ่งชี้ถึงการพัฒนาคุณภาพชีวิตเด็กไทย การที่เด็กจะมีพัฒนาการสมวัย ในทุกๆด้าน ต้องอาศัยความร่วมมือของหลายๆฝ่ายที่เกี่ยวข้อง เริ่มตั้งแต่แม่หรือครอบครัวที่จะต้องให้การดูแลที่ ถูกต้องตั้งแต่อยู่ในครรภ์โดยการรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ในปริมาณและสัดส่วนที่เพียงพอ การออกกำลังกาย การไปตรวจครรภ์ตามนัด ภายหลังคลอดแล้วมีการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ การให้อาหารเสริมตามวัย ในส่วนของสถานบริการส่งเสริมสุขภาพและให้ความช่วยเหลือแม่และครอบครัวในรายที่ต้องการความช่วยเหลือ ซึ่งครอบครัวและชุมชนควรมีการจัดเตรียมความพร้อมและมีการส่งเสริมพัฒนาการที่เหมาะสมแก่เด็ก รวมทั้งจัดให้มีสถานรับเลี้ยงเด็กก่อนวัยเรียน หรือศูนย์เด็กเล็กเพื่อใช้เป็นสถานที่สำหรับการเตรียมความพร้อม ทั้งด้าน ร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ และสังคมให้แก่เด็ก เมื่อครอบครัวและชุมชนมีการเลี้ยงดูเด็กที่ดีแล้ว ก็จะเป็นการวางรากฐานในการพัฒนาคนให้เติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่มีคุณภาพต่อไปในอนาคต ปัญหาพัฒนาการเด็กปฐมวัยจากการสำรวจสถานการณ์พัฒนาการเด็กปฐมวัย ทุก 3 ปี ของกรมอนามัย โดยเครื่องมือมาตรฐาน Denverll และนักประเมินพัฒนาการเด็กที่ผ่านการอบรม พบว่าเด็กแรกเกิด-5 ปี มี พัฒนาการสมวัยลดลงจากร้อยละ 71.7 ใน พ.ศ.2542 เป็นร้อยละ67.3 ใน พ.ศ.2553 และเพิ่มขึ้นเป็นร้อย ละ 72.5 ในปี 2557(กลุ่มอนามัยแม่และเด็ก,2557) โดยในรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ     ตำบลเกาะจัน อำเภอมายอ จังหวัดปัตตานี ในปี 2564 มีเด็กจำนวน 146 คนได้รับการตรวจพัฒนาการ 138 คน คิดเป็นร้อยละ 94.52 พบเด็กที่มีปัญหาพัฒนาการไม่สมวัย จำนวน 17 ราย คิดเป็นร้อยละ 11.64 (จากข้อมูลการตรวจที่คลินิกพัฒนาการที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเกาะจัน) แต่เนื่องจากการตรวจพัฒนาการเด็กทำโดยเจ้าหน้าที่ ทำให้การติดตามตรวจพัฒนาการเด็กขาดความสม่ำเสมอ ไม่ต่อเนื่องเพราะ เจ้าหน้าที่มีหลายบทบาทหน้าที่ ทำให้การดูแลและติดตามการตรวจพัฒนาการไม่ครอบคลุมอีกทั้งอาชีพส่วนใหญ่ของคนในชุมชนเป็นอาชีพเกษตรกรรมและไปรับจ้างในต่างจังหวัดเด็กอยู่กับผู้สูงอายุที่มีความรู้ความเข้าใจในการส่งเสริมพัฒนาการเด็กน้อย ดังนั้นเพื่อเป็นการแก้ไขปัญหาให้เด็กปฐมวัยให้ได้รับการส่งเสริมพัฒนาการและใช้คู่มือฯได้อย่างมีตามมาตรฐาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเกาะจัน จึงได้จัดทำโครงการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย(DSPM) ขึ้น เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจและใช้คู่มือเฝ้าระวังและส่งเสริม พัฒนาการเด็กปฐมวัย(DSPM) ได้อย่างมีประสิทธิภาพ เป็นการบริการด้านสุขภาพแก่ประชาชนเชิงรุกโดยชุมชนเพื่อชุมชนและคัดกรองหาเด็กที่มีพัฒนาการไม่สมวัย และส่งต่อให้ได้รับการกระตุ้นพัฒนาการอย่างเหมาะสม ให้เด็กในชุมชนเติบโตอย่างมีคุณภาพ มีความฉลาดทั้งด้านสติปัญญา อารมณ์ สังคม พร้อมที่จะเป็นกำลังในการพัฒนาชุมชนและประเทศต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้เครือข่ายสามารถใช้คู่มือเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยได้ถูกต้อง
  2. เพื่อค้นหาเด็กพัฒนาการไม่สมวัยในชุมชน
  3. เพื่อดำเนินการแก้ไขพัฒนาการเด็กปฐมวัยที่มีพัฒนาการล่าช้าได้อย่างเหมาะสม

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้เรื่องการเฝ้าระวังและส่งเสริม พัฒนาการเด็กปฐมวัย แก่เครือข่าย อสม.
  2. -จัดอบรมให้ความรู้เรื่องการเฝ้าระวังและส่งเสริม พัฒนาการเด็กปฐมวัย(แก่ผู้ปกครอง)

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 70
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้เรื่องการส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย มี ความรู้เฉลี่ยตามแบบทดสอบความรู้หลังการอบรมดีกว่าก่อนการอบรม ร้อยละ 80 2.ผู้เข้าอบรมมีความรู้ความเข้าใจในการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก ปฐมวัย ร้อยละ 80 3.เด็กปฐมวัยในชุมชนได้รับการคัดกรองพัฒนาการตามวัยตามช่วง อายุ 9,18,30,42 เดือน ร้อยละ 90 4. เด็กที่มีพัฒนาการล่าช้าได้รับการส่งต่อและส่งเสริมพัฒนาการตามวัยอย่างเหมาะสม ร้อยละ 100


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

งบประมาณที่ได้รับอนุมัติ 27,400 บาท งบปะมาณที่เบิกจ่ายจริง  27,400 บาท คิดเป็นร้อยละ 100
งบประมาณที่เหลือคืนกองทุน 0 บาท

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้เครือข่ายสามารถใช้คู่มือเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยได้ถูกต้อง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 เครือข่ายสามารถใช้คู่มือเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยได้ถูกต้อง
0.00

 

2 เพื่อค้นหาเด็กพัฒนาการไม่สมวัยในชุมชน
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 เด็กได้รับการคัดกรองพัฒนาการตามวัย
0.00

 

3 เพื่อดำเนินการแก้ไขพัฒนาการเด็กปฐมวัยที่มีพัฒนาการล่าช้าได้อย่างเหมาะสม
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 เด็กที่มีพัฒนาการสงสัยล่าช้าได้รับการแก้ไขอย่ารงเหมาะสม
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 70
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 70 70
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เครือข่ายสามารถใช้คู่มือเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยได้ถูกต้อง (2) เพื่อค้นหาเด็กพัฒนาการไม่สมวัยในชุมชน (3) เพื่อดำเนินการแก้ไขพัฒนาการเด็กปฐมวัยที่มีพัฒนาการล่าช้าได้อย่างเหมาะสม

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้เรื่องการเฝ้าระวังและส่งเสริม พัฒนาการเด็กปฐมวัย แก่เครือข่าย อสม. (2) -จัดอบรมให้ความรู้เรื่องการเฝ้าระวังและส่งเสริม พัฒนาการเด็กปฐมวัย(แก่ผู้ปกครอง)

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย รพ.สต.เกาะจัน อ.มายอ จ.ปัตตานี ปี 2565 จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 2565-L3001-01-02

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางมาหลา เจ๊ะอูมา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด