กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.มาโมง


“ โครงการอบรมป้องกันและเฝ้าระวังโรคติดเชื้อ ในกลุ่มหญิงตั้งครรภ์และเด็ก ”

ตำบลมาโมง อำเภอสุคิริน จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
อบต.มาโมง

ชื่อโครงการ โครงการอบรมป้องกันและเฝ้าระวังโรคติดเชื้อ ในกลุ่มหญิงตั้งครรภ์และเด็ก

ที่อยู่ ตำบลมาโมง อำเภอสุคิริน จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 65-L2532-2-23 เลขที่ข้อตกลง 23/2565

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2565 ถึง 31 สิงหาคม 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการอบรมป้องกันและเฝ้าระวังโรคติดเชื้อ ในกลุ่มหญิงตั้งครรภ์และเด็ก จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลมาโมง อำเภอสุคิริน จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.มาโมง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมป้องกันและเฝ้าระวังโรคติดเชื้อ ในกลุ่มหญิงตั้งครรภ์และเด็ก



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการอบรมป้องกันและเฝ้าระวังโรคติดเชื้อ ในกลุ่มหญิงตั้งครรภ์และเด็ก " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลมาโมง อำเภอสุคิริน จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 65-L2532-2-23 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2565 - 31 สิงหาคม 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 30,950.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.มาโมง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ด้วยสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา2019 (COVID-19) ยังคงแพร่ระบาดอย่างต่อเนื่อง ทั้งที่เกิดในประเทศไทยและอีกหลายประเทศทั่วโลก ซึ่งเป็นเหตุให้รัฐบาลไทยต้องประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินในหลายพื้นที่ โดยวางมาตรการที่พึงปฏิบัติสำหรับบุคคลบางประเภท เช่น กลุ่มผู้ป่วยโรคประจำตัว 8 โรคหญิงตั้งครรภ์และเด็กเล็ก เป็นกลุ่มที่มีความเสี่ยงสูงต่อการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ได้ง่าย อยู่ในเคหะสถานหรือบริเวณสถานที่พักของตนเองเพื่อป้องกันตนเองจากสภาพแวดล้อมภายนอกและสถานการณ์การแพร่ระบาดในตอนนี้ โดยปัจจุบันโควิดสายพันธุ์ โอมิครอน จะกลายเป็นสายพันธุ์หลักในการระบาดตอนนี้ ซึ่งมีการระบาดอย่างต่อเนื่องและรวดเร็ว หญิงตั้งครรภ์เป็น 1 ใน 6 กลุ่มเปราะบาง เนื่องจากมีความเสี่ยงของโรคที่รุนแรงกว่าคนทั่วไปถึง 3 เท่า และต้องระวังเป็นอย่างมากโดยเฉพาะหญิงตั้งครรภ์ที่อยู่ในไตรมาสที่ 3 (นับตั้งแต่สัปดาห์ที่ 29-42) ในสถานการณ์ที่เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) มีการกลายพันธุ์ ทำให้ผู้ที่ติดเชื้อมีอาการรุนแรงและเกิดภาวะปอดอักเสบได้ง่าย ในกรณีของหญิงตั้งครรภ์เมื่อมีอาการปอดอักเสบ จะทำให้ทารกในครรภ์ได้รับออกซิเจนจากแม่ไม่เพียงพอ ผลที่ตามมาคือเพิ่มความเสี่ยงในการคลอดก่อนกำหนดการรักษาโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา2019 (COVID-19) ในหญิงตั้งครรภ์ จึงเป็นความท้าทายของแพทย์ที่ต้องรักษาทั้งแม่และทารกในครรภ์ไปพร้อมกัน ซึ่งมีความซับซ้อนกว่าการรักษาในบุคคลทั่วไป ทั้งในเรื่องของข้อจำกัดในการให้ยาบางชนิด ที่ต้องคำนึงถึงอายุครรภ์และทารก การไม่สามารถนอนคว่ำเพื่อให้ออกซิเจนเพิ่มขึ้นได้ เพิ่มโอกาสที่ต้องใส่เครื่องช่วยหายใจโดยข้อมูลจากกระทรวงสาธารณสุข ระบุว่าเมื่อหญิงตั้งครรภ์ติดเชื้อโควิด มีอัตราการเสียชีวิต 1.85% สูงกว่าคนทั่วไปถึง 2.5 เท่า และกว่าครึ่งในจำนวนนี้เป็นผู้ที่ยังไม่ได้คลอดบุตร และยังมียอดการติดเชื้อไวรัสโคโรนา2019 (COVID-19) ในกลุ่มของหญิงตั้งครรภ์เพิ่มขึ้นเรื่อยๆอย่างน่าเป็นห่วง และมีแนวโน้มอัตราการเสียชีวิตของมารดาจะเพิ่มสูงขึ้นจากเดิมการฉีดวัคซีนโควิด-19 ให้กับหญิงตั้งครรภ์เพื่อป้องกันการติดเชื้อจึงมีความสำคัญเป็นอย่างมาก เพื่อช่วยลดความรุนแรงและการเสียชีวิตจากการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)ได้ ในสถานการณ์การระบาดของโรค โควิด-19 ที่ผ่านมา พบเด็กที่ติดเชื้อ SARS-CoV-2 ที่ก่อให้เกิดโรค โควิด-19 ประมาณร้อยละ 13 ของผู้ป่วยทั้งหมด แต่ส่วนใหญ่จะมีอาการไม่รุนแรงหรือไม่มีอาการเลย และพบน้อยมากที่เด็กติดเชื้อแล้วมีอาการรุนแรงและต้องรับการรักษาในหอผู้ป่วยวิกฤตหรือใช้เครื่องช่วยหายใจ แต่อย่างไรก็ตาม เด็กก็มีแนวโน้มที่จะเกิดอาการรุนแรงหรือมีภาวะแทรกซ้อนที่รุนแรงได้ หากผู้ป่วยเด็กคนนั้นมีภาวะอ้วน เป็นโรคเบาหวาน โรคหอบหืด โรคหัวใจพิการแต่กำเนิด โรคพันธุกรรมเมตาบอลิก หรือภาวะผิดปกติทางระบบประสาท ส่วนในเด็กเล็กที่อายุต่ำกว่า 1 ขวบ หากติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) จะมีอาการมากกว่าเด็กโต เนื่องจากระบบภูมิคุ้มกันในร่างกายยังพัฒนาได้ไม่ดีพอและช่องทางเดินหายใจยังมีขนาดเล็ก มีลักษณะเหมือนเด็กที่เป็นโรคไข้หวัดใหญ่ ซึ่งจะมีปัญหาของระบบทางเดินหายใจ ส่วนเด็กที่ได้รับวัคซีนป้องกันการติดเชื้อแบคทีเรียที่รุนแรงก็จะป้องกันได้เฉพาะเชื้อที่ฉีดวัคซีนป้องกันไปเท่านั้น จากข้อมูลสถานการณ์โควิด-19 ในหญิงตั้งครรภ์ หญิงหลังคลอด 6 สัปดาห์ และทารกแรกเกิด ของกรมอนามัยพบว่า ระหว่างวันที่ 1 เม.ย. - 11 ก.ย. 2564 มีหญิงตั้งครรภ์ติดเชื้อไวรัสโคโรนา2019 (COVID-19) สูงถึง 3,668 ราย ในจำนวนนี้ได้รับวัคซีนเพียง 85 ราย เสียชีวิต 82 ราย และมีทารกติดเชื้อ 180 ราย เสียชีวิต 37 ราย จากสถานการณ์ดังกล่าว องค์การบริหารส่วนตำบลมาโมง เป็นหน่วยงานมีหน้าที่ในการป้องกันโรคและระงับโรคในพื้นที่ ตามพระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ. 2537 และแก้ไขเพิ่มเติม มาตรา 67 (3) และมีอำนาจหน้าที่ในการสาธารณสุข การอนามัย ครอบครัว และการรักษาพยาบาล ตามพระราชบัญญัติกำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม มาตรา 16 (19)
-2-

ดังนั้น เพื่อให้การดำเนินการป้องกันและเฝ้าระวังโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา2019 (COVID-19) ในกลุ่มหญิงตั้งครรภ์ และเด็ก ให้มีการดูแลตนเองให้ปลอดภัยได้อย่างถูกต้อง สำนักปลัด องค์การบริหารส่วนตำบลมาโมง จึงได้จัดทำโครงการเฝ้าระวังและป้องกันการติดเชื้อไวรัสโคโรนา2019 (COVID-19) ในหญิงตั้งครรภ์และเด็ก ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อเฝ้าระวังและป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในกลุ่มหญิงตั้งครรภ์และเด็ก
  2. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์และผู้ปกครองของเด็ก มีความรู้ในการดูแลตนเองให้ปลอดภัยจากเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ได้อย่างถูกต้อง
  3. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์และผู้ปกครองของเด็ก มีความรู้ในการดูแลตนเองในขณะที่ติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ได้อย่างถูกต้อง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้เรื่องการดูแลหญิงตั้งครรภ์ก่อนคลอด หลังคลอดและเด็กให้ปลอดภัยจากโรค ติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) การปฏิบัติตัวและการดูแลตนเองเมื่อพบว่าเป็นผู้ติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) , การให้นมบุตรขณะเป็นผู้ติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 50
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. สถานการณ์แพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในกลุ่มหญิงตั้งครรภ์ และเด็กมีแนวโน้มลดลง
  2. หญิงตั้งครรภ์ และผู้ปกครองของเด็ก มีความรู้ในการดูแลตนเองให้ปลอดภัยจากเชื้อไวรัสโคโรนา2019 (COVID-19) ได้อย่างถูกต้อง
  3. หญิงตั้งครรภ์ และผู้ปกครองของเด็ก มีความรู้ในการดูแลตนเองในขณะที่ติดเชื้อไวรัสโคโรนา2019 (COVID-19) ได้อย่างถูกต้อง

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อเฝ้าระวังและป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในกลุ่มหญิงตั้งครรภ์และเด็ก
ตัวชี้วัด :
0.00

 

2 เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์และผู้ปกครองของเด็ก มีความรู้ในการดูแลตนเองให้ปลอดภัยจากเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ได้อย่างถูกต้อง
ตัวชี้วัด :
0.00

 

3 เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์และผู้ปกครองของเด็ก มีความรู้ในการดูแลตนเองในขณะที่ติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ได้อย่างถูกต้อง
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 50
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเฝ้าระวังและป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในกลุ่มหญิงตั้งครรภ์และเด็ก (2) เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์และผู้ปกครองของเด็ก มีความรู้ในการดูแลตนเองให้ปลอดภัยจากเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ได้อย่างถูกต้อง (3) เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์และผู้ปกครองของเด็ก มีความรู้ในการดูแลตนเองในขณะที่ติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ได้อย่างถูกต้อง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้เรื่องการดูแลหญิงตั้งครรภ์ก่อนคลอด หลังคลอดและเด็กให้ปลอดภัยจากโรค        ติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) การปฏิบัติตัวและการดูแลตนเองเมื่อพบว่าเป็นผู้ติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) , การให้นมบุตรขณะเป็นผู้ติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการอบรมป้องกันและเฝ้าระวังโรคติดเชื้อ ในกลุ่มหญิงตั้งครรภ์และเด็ก จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 65-L2532-2-23

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( อบต.มาโมง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด