แบบการติดตามประเมินผลการดำเนินกิจกรรมของโครงการ (Process Evaluation)
กิจกรรม | ระยะเวลา | เป้าหมาย/วิธีการ | ผลการดำเนินงาน | ปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแก้ไข | |||
---|---|---|---|---|---|---|---|
ตามแผน | ปฏิบัติจริง | ตามแผน | ปฏิบัติจริง | ตามแผน | ปฏิบัติจริง | ||
ประชุมคณะทำงาน | 16 มิ.ย. 2565 | 22 ส.ค. 2565 |
|
ประชุมคณะทำงาน ประกอบด้วยผู้บริหาร 5 คน ผู้อำนวยการกอง/หัวหน้าฝ่าย 8 คน ผู้เกี่ยวข้องอื่น ๆ จำนวน 2 คน รวม 15 คน เพื่อทำความเข้าใจโครงการ วางแผนการดำเนินกิจกรรม และสร้างแบบสำรวจพฤติกรรมการขยับกายของพนักงาน |
|
1.มีคณะทำงานขับเคลื่อนโครงการ 2.มีการประชุมร่วมกัน1 ครั้งจำนวน15 คน |
|
สำรวจประเมินพฤติกรรมการขยับกายของพนักงานเทศบาลตำบลบ้านสวน | 21 มิ.ย. 2565 | 21 มิ.ย. 2565 |
|
สำรวจประเมินพฤติกรรมการขยับกายของพนักงานเทศบาลทุกคน ตามแบบสำรวจที่คณะทำงานได้ร่วมกันออกแบบ โดยแบบสำรวจดังกล่าวมีรายละเอียดครอบคลุมพฤติกรรมการขยับกาย ดังนี้ 1) มีพฤติกรรมการขยับกายเพียงพอ(60 นาที/วัน) จำนวนกี่คน 2) มีพฤติกรรมการขยับกายไม่เพียงพอ(น้อยกว่า 60 นาที/วัน)จำนวนกี่คน 3) ไม่มีกิจกรรมทางกาย กี่คน |
|
ได้ข้อมูลพฤติกรรมการขยับกายของพนักงานเทศบาลทุกคน •ได้ข้อมูลพื้นฐานในการส่งเสริมพฤติกรรมการขยับกายได้อย่างมีประสิทธิภาพ |
|
เวทีสร้างความเข้าใจ ความตระหนัก ในพฤติกรรมการขยับกายที่เหมาะสมของพนักงานเทศบาล | 28 มิ.ย. 2565 | 30 ส.ค. 2565 |
|
เวทีประชุมให้ความรู้และสร้างการตระหนักเรื่องพฤติกรรมการขยับกายที่เหมาะสมเของพนักงานเทศบาลทุกคน โดยวิทยากรด้านสุขภาพผู้ชำนาญการ •ร่วมกันกำหนดกติกา เพื่อดำเนินการพฤติกรรมทางกายในแต่ละสัปดาห์ เพื่อสร้างความต่อเนื่องในการประเมินผลหลังเสร็จสิ้นโครงการ - ประเมินชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง รอบเอว ความดัน ให้พนักงานทุกคนและบันทึกข้อมูลไว้ งบประมาณ - ค่าตอบแทนวิทยากร จำนวน 2 ชั่วโมงๆละ 600 บาท เป็นเงิน 1200 บาท - ค่าป้ายโครงการ ขนาด 1.2x2.4 เมตร จำนวน 1 ป้าย เป็นเงิน 450 บาท - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม สำหรับผู้เข้าร่วมโครงการและวิทยากร จำนวน 81 คนๆละ 25 บาท เป็นเงิน 2025 บาท - ค่าตอบแทนบุคคลในการวัดดัชนีมวลกาย จำนวน 2 คนๆละ 200 บาท เป็นเงิน 400 บาท - ค่าสมุดบันทึกสุขภาพรายบุคคลพร้อมปากกา จำนวน 80 ชุด ชุดละ 25 บาท เป็นเงิน 2,000 บาท |
|
สามารถจัดเวทีให้ความรู้และสร้างการตระหนักเรื่องพฤติกรรมการขยับกายที่เหมาะสม จำนวน 1 ครั้ง • กติกาในการสร้างพฤติกรรมทางกายที่เหมาะสมในแต่ละสัปดาห์ • ได้ข้อมูลน้ำหนัก ส่วนสูง ความดัน ของพนักงานเทศบาลทุกคน |
|
ปฏิบัติกิจกรรมทางกาย | 29 มิ.ย. 2565 | 31 ส.ค. 2565 |
|
ลงมือปฏิบัติกิจกรรมทางกายดังนี้ 1.กิจกรรมกรีฑา กีฬาพื้นบ้านสัมพันธ์ สัปดาห์ละ 1 ครั้ง เวลา 1ุ5.00-16.30 น - วิ่ง, ชักกะเย่อ วิ่งกระสอบ มอญซ่อนผ้า ฯลฯ 2.กิจกรรมส่งเสริมเล่นกีฬาเปตอง สัปดาห์ละ 3 ครั้ง เวลา 1ุ5.00-16.30 น. งบประมาณ - ค่าลูกเปตอง จำนวน 8 ชุดๆละ 3 ลูก ราคาชุดละ 2,500บาท เป็นเงิน 20,000 บาท - ค่าตลับเมตร 1 อันๆละ 150บาทเป็นเงิน150 บาท - ค่าเครื่องดื่ม 17 สัปดาห์ สัปดาห์ละ 300 บาท เป็นเงิน 5,100 บาท 3.กิจกรรมเคลื่อนไหวจังหวะเสียงเพลง - ค่าอุปกรณ์เครื่องเสียง 1 ชุดๆละ 10,000 บาท - ค่าวิทยากรนำเต้น ครั้งละ 100 บาท (ตั้งเเต่เดือน สิงหาคม-ธันวาคม 2565 จำนวน 28 ครั้ง) เป็นเงิน 2,800 บาท - ออกกำลังกายเต้นแอโรบิก สัปดาห์ละ 2 ครั้ง เวลา 1ุ5.30-16.30 น. (กิจกรรมเล่นสลับสับเปลี่ยนกันไป) |
|
บุคลากร จำนวน 80 คน ได้ดำเนินกิจกรรมทางกายที่เพียงพอ |
|
ถอดบทเรียน/แลกเปลี่ยนเรียนรู้/ทบทวน/ติดตามประเมินผล | 28 ก.ย. 2565 | 20 ต.ค. 2565 |
|
ถอดบทเรียน จำนวน 2 ครั้ง ในเดือน ตุลาคม 2565 และธันวาคม 2565ค่าใช้จ่ายดังนี้ - ค่าตอบแทนบุคคลในการวัดดัชนีมวลกาย จำนวน 2 คนๆละ 2 ครั้งๆละ 200 บาทต่อคน เป็นเงิน 800 บาท - ค่าวิทยากรถอดบทเรียน/แลกเปลี่ยนเรียนรู้/ทบทวน/ติดตามประเมินผล (ในครั้งสุดท้าย เพื่อช่วยวิเคราะห์และสรุปผลการดำเนินงานและต่อยอดในครั้งต่อไป) จำนวน 1 คน รวม 2 ชั่วโมงๆละ 600 บาท เป็นเงิน 1,200 บาท - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 83 คนๆละ1 มื้อๆละ 25 บาท เป็นเงิน 2075 บาท (บุคลากรจำนวน 80 คน,บุคคลในการวัดดัชนีมวลกาย จำนวน 2 คน, วิทยากร จำนวน 1 คน) |
|
พนักงานอายุ 18-64 ปีมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอ ร้อยละ 60 |
|