กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพเกษตรกรผู้ผลิตและผู้บริโภคปลอดภัยจากสารเคมีตกค้างในกระแสเลือด ประจำปีงบประมาณ 2565
รหัสโครงการ L336325651001
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานสาธารณสุขอื่นของ อปท. เช่น กองสาธารณสุขของเทศบาล
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ งานสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลตำบลบ้านนา
วันที่อนุมัติ 25 มีนาคม 2565
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 18 เมษายน 2565 - 30 กันยายน 2565
กำหนดวันส่งรายงาน 31 ตุลาคม 2565
งบประมาณ 13,200.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวอรวรรณ จันทรธนู
พี่เลี้ยงโครงการ นายมนพพร เขมะวนิช
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลบ้านนา อำเภอศรีนครินทร์ จังหวัดพัทลุง
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 40 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 จำนวนของเกษตรกร(คน)ที่มีสารเคมีทางการเกษตรตกค้างในกระแสเลือดระดับอันตราย

เกษตรกรผู้ผลิตและผู้บริโภคที่มีผลการตรวจสารเคมีตกค้างในกระแสเลือดอยู่ในระดับเสี่ยงและระดับไม่ปลอดภัย จำนวน 40 คน

40.00
2 จำนวน(คน)ผู้บริโภคที่มีสารเคมีทางการเกษตรตกค้างในกระแสเลือดระดับอันตราย

เกษตรกรผู้ผลิตและผู้บริโภคที่มีผลการตรวจสารเคมีตกค้างในกระแสเลือดอยู่ในระดับเสี่ยงและระดับไม่ปลอดภัย จำนวน 40 คน

40.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ประชาชนในพื้นที่ตำบลบ้านนา ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรมม โดยมีพื้นที่ในการเกษตรประกอบไปด้วย สานยางพารา พืชล้มลุก ปลูกผักและพืชทางการเกษตรอีกหลายชนิด จึงอาจเกิดผลกระทบจากการใช้สารเคมีในการควบคุมและกำจัดศัตรูพืชได้ และจากผลการตรวจสุขภาพประชาชนในพื้นที่ตำบลบ้านนา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ที่ผ่านมา จำนวน 12 หมู่บ้านๆ ละ 50 คน พบว่ากลุ่มประชาชนที่ประกอบอาชีพเกษตรกรรมและประชาชนทั่วไปที่นิยมซื้อผักผลไม้บริโภค มีผลตรวจสารเคมีตกค้างในกระแสเลือด ในระดับเสี่ยงและระดับไม่ปลอดภัย จำนวนมากกว่า 17 ราย หรือคิดเป็นอัตราเสี่ยง 1:2 ของประชากรที่เข้ารับการตรวจสุขภาพทั้งหมด

เทศบาลตำบลบ้านนาได้รับรายงานผลการตรวจสุขภาพและนำข้อมูลมาวิเคราะห์เพื่อแก้ไขปัญหาสุขภาพของประชากรในพื้นที่ พบว่าประชากรที่ตรวจพบสารเคมีตกค้างในกระแสเลือดส่วนใหญ่ขาดองค์ความรู้ ความเข้าใจ และทักษะปฏิบัติที่ถูกต้องในการป้องกันสารเคมีตกค้างในกระแสเลือด จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพเกษตรผู้ผลิตและผู้บริโภค ปลอดภัยจากสารเคมีตกค้างในกระแสเลือดประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ขึ้น

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อลดปัญหาเกษตรกรมีสารเคมีทางการเกษตรตกค้างในกระแสเลือดระดับอันตราย

จำนวนของเกษตรกรที่มีสารเคมีทางการเกษตรตกค้างในกระแสเลือดระดับอันตราย(คน)

40.00 20.00
2 เพื่อแก้ไขปัญหาผู้บริโภคมีสารเคมีทางการเกษตรตกค้างในกระแสเลือดระดับอันตราย

จำนวนผู้บริโภคที่มีสารเคมีทางการเกษตรตกค้างในกระแสเลือดระดับอันตราย(คน)

40.00 20.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
ลำดับกิจกรรมหลักงบประมาณเม.ย. 65พ.ค. 65มิ.ย. 65ก.ค. 65ส.ค. 65ก.ย. 65
1 กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ การให้ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการป้องกันสารเคมีตกค้างในเลือด(20 เม.ย. 2565-20 เม.ย. 2565) 9,200.00            
2 กิจกรรมการเจาะเลือดหาสารเคมีตกค้างในเลือด(25 เม.ย. 2565-25 ก.ค. 2565) 4,000.00            
รวม 13,200.00
1 กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ การให้ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการป้องกันสารเคมีตกค้างในเลือด กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 40 9,200.00 0 0.00
25 เม.ย. 65 กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ การให้ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการป้องกันสารเคมีตกค้างในเลือด 40 9,200.00 -
2 กิจกรรมการเจาะเลือดหาสารเคมีตกค้างในเลือด กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 40 4,000.00 0 0.00
25 เม.ย. 65 - 25 ก.ค. 65 กิจกรรมการเจาะเลือดหาสารเคมีตกค้างในเลือด 40 4,000.00 -

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. เกษตรกรผู้ผลิตและผู้บริโภคมีความรู้ ความเข้าใจ สามารถทำการเกษตรและบริโภคผลิตภัณฑ์ทางการเกษตรได้อย่างปลอดภัย
  2. เกษตรและผู้บริโภคที่เสี่ยงสารเคมีตกค้างในกระแสเลือดสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการผลิตและการบริโภคได้ดีขึ้น ร้อยละ 60 ของผู้เข้าร่วมโครงการ
  3. เกษตรกรและผู้บริโภคผู้ที่มีสารเคมีตกค้างในกระแสเลือดได้รับการรักษาที่ถูกต้อง
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 8 เม.ย. 2565 14:47 น.