กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลบาเจาะ ประจำปีงบประมาณ 2565
รหัสโครงการ 65-L2488-4-01
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 4 สนับสนุนการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ สำนักงานเลขาฯกองทุน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ
วันที่อนุมัติ 1 เมษายน 2565
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 ตุลาคม 2564 - 30 กันยายน 2565
กำหนดวันส่งรายงาน 30 ตุลาคม 2565
งบประมาณ 38,300.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวซอบ๊ะ อีดิง
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลบาเจาะ อำเภอบาเจาะ จังหวัดนราธิวาส
ละติจูด-ลองจิจูด 6.514,101.636place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานการบริหารจัดการกองทุนสุขภาพตำบล
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 21 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ด้วยองค์การบริหารส่วนตำบลบาเจาะ ได้ร่วมกับสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) จัดตั้งกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลบาเจาะขึ้น โดยได้เริ่มดำเนินงานตั้งแต่ปีงบ ประมาณ 2554 เพื่อสนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุข ของหน่วยบริการ สถานบริการ หน่วยงานสาธารณสุข หน่วยงานอื่น องค์กรหรือกลุ่มประชาชน เพื่อให้บุคคลสามารถเข้าถึงบริการสาธารณสุขได้อย่างทั่วถึงและมีประสิทธิภาพมากขึ้น โดยส่งเสริมกระบวนการมีส่วนร่วมตามความพร้อม ความเหมาะสม และความต้องการของประชาชนในท้องถิ่น

ดังนั้น เพื่อให้การบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลบาเจาะ สามารถดำเนินงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ จึงได้จัดทำโครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลบาเจาะ ประจำปีงบประมาณ 2565

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อส่งเสริมให้มีการใช้เงินงบประมาณของกองทุนฯ ให้แก่ผู้ขอรับการสนับสนุนงบประมาณ
  1. ยอดเงินงบประมาณคงเหลือไม่เกินร้อยละ 20

  2. กองทุนฯ สามารถเบิกจ่ายเงินให้ผู้ขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนฯ ภายในเดือนมีนาคม 2565 จำนวนร้อยละ 60 และภายในเดือนกรกฎาคม 2565 จำนวนร้อยละ 90

0.00
2 2. เพื่อให้มีการประชุมคณะกรรมการกองทุนฯ และอนุกรรมการกองทุนฯ อย่างน้อยปีละ 4 ครั้ง

ประชุมคณะกรรมการกองทุนฯ และอนุกรรมการกองทุนฯ ไม่น้อยกว่า 3 ครั้ง/ปี

0.00
3 3. เพื่อพัฒนาศักยภาพของคณะกรรมการกองทุนฯ อนุกรรมการกองทุนฯ หน่วยงาน กลุ่ม องค์กรต่าง ๆ ในการจัดทำแผนสุขภาพตำบลและการเขียนโครงการ

มีแผนสุขภาพตำบลเป็นเครื่องมือในการบริหารงานกองทุนฯ

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
ลำดับกิจกรรมหลักงบประมาณต.ค. 64พ.ย. 64ธ.ค. 64ม.ค. 65ก.พ. 65มี.ค. 65เม.ย. 65พ.ค. 65มิ.ย. 65ก.ค. 65ส.ค. 65ก.ย. 65
1 ประชุมคณะกรรมการกองทุน ที่ปรึกษา อนุกรรมการและคณะทำงาน(1 ต.ค. 2564-30 ก.ย. 2565) 32,900.00                        
2 ค่าใช้จ่ายในการพัฒนาศักยภาพของคณะกรรมการกองทุนฯ อนุกรรมการกองทุนฯ และการจัดทำแผนสุขภาพตำบล(1 มิ.ย. 2565-30 ก.ย. 2565) 5,400.00                        
รวม 38,300.00
1 ประชุมคณะกรรมการกองทุน ที่ปรึกษา อนุกรรมการและคณะทำงาน กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 26 32,900.00 2 19,400.00
1 ต.ค. 64 - 30 ก.ย. 65 ประชุมคณะกรรมการกองทุนฯ และที่ปรึกษา 20 26,000.00 14,900.00
1 ต.ค. 64 - 30 ก.ย. 65 ประชุมคณะอนุกรรมการและคณะทำงาน 6 6,900.00 4,500.00
2 ค่าใช้จ่ายในการพัฒนาศักยภาพของคณะกรรมการกองทุนฯ อนุกรรมการกองทุนฯ และการจัดทำแผนสุขภาพตำบล กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 38 5,400.00 0 0.00
1 มิ.ย. 65 - 30 ก.ย. 65 ประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อจัดทำแผนสุขภาพตำบลและการพัฒนาการเขียนโครงการ 38 5,400.00 -

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. กองทุนฯ สามารถใช้จ่ายงบประมาณตามแผนการเงินไม่น้อยกว่าร้อยละ 80

  2. มีหน่วยงาน องค์กร กลุ่มต่าง ๆ ในพื้นที่ขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนฯ มากขึ้น

  3. ทำให้คณะกรรมการกองทุนฯ มีศักยภาพในการบริหารงานกองทุนฯ มากขึ้น

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 11 เม.ย. 2565 13:48 น.