กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดภาวะเสี่ยงโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูง ปี 2565 ”
ตำบลโฆษิต อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส



หัวหน้าโครงการ
นางดาราวัลย์ บั้นบูรณ์




ชื่อโครงการ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดภาวะเสี่ยงโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูง ปี 2565

ที่อยู่ ตำบลโฆษิต อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 65-L2482-1-1 เลขที่ข้อตกลง 1/2565

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2565

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดภาวะเสี่ยงโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูง ปี 2565 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลโฆษิต อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.โฆษิต ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดภาวะเสี่ยงโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูง ปี 2565



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดภาวะเสี่ยงโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูง ปี 2565 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลโฆษิต อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 65-L2482-1-1 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2565 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 16,000.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.โฆษิต เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ประชาชนในเขตรับผิดชอบ ของรพ.สต.บ้านโคกมือบา ต.โฆษิต มีภาวะการเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรัง ที่เกิดจากพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่เสี่ยงต่อการเกิดโรค เช่น บูดู ปลาเค็ม และเนื้อหมัก ซึ่งจะมีรสชาติที่เค็มมาก และยังนิยมบริโภคอาหารที่มีรสหวาน รสมัน และพฤติกรรมการบริโภคน้ำชา กาแฟ เป็นกิจวัตรประจำวัน ประกอบกับการขาดการออกกำลังกายที่ถูกต้องตามรูปแบบ และยังมีพฤติกรรมที่ไม่นิยมนับประทานผัก จึงส่งผลให้ประชาชนในพื้นที่มีภาวะป่วยด้วยโรค ที่เกิดจากพฤติกรรมของตนเอง เช่น โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคมะเร็ง และโรคหัวใจและหลอดเลือด ขาดการป้องกันโรค รอจนป่วยแล้วค่อยเยียวยารักษา ขณะเดียวกันผู้ป่วยจำนวนไม่น้อย ยังไม่ตระหนักถึงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมส่งผลให้เกิดภาวะแทรกซ้อน ถูกตัดแขน ขา กลายเป็นผู้พิการ กลายเป็นผู้ป่วยติดเตียง เป็นภาระแก่บุคคลในครอบครัวและชุมชน ซึ่งกลุ่มเป้าหมายในการคัดกรองภาวะเสี่ยงของโรคเบาหวานเขตรับผิดชอบของรพ.สต.บ้านโคกมือบา จำนวน 1,183 คน ได้รับารคัดกรองภาวะเสี่ยงต่อการเป็นโรคเบาหวานจำนวน 1,137 คน คิดเป็นร้อยละ 96.11 ละมีภาวะสี่ยงต่อการป่วยด้วยโรคเบาหวาน 458 คน คิดเป็นร้อยละ 40.28 กลุ่มเป้าหมายในการคัดกรองภาวะเสี่ยงของโรคความดันโลหิตสูงจำนวน 965 คน ได้รับการคัดกรอง 922 คน คิดเป็นร้อยละ 95.54 คน มีภาวะเสี่ยง จำนวน 213 คน คิดเป็นร้อยละ 23.10 กลุ่มเสี่ยงหากไม่ได้รับเฝ้าระวัง ก็สามารถเป็นกลุ่มป่วย และกลุ่มหากยังไม่ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมก็จะมีถาวะแทรกซ้อนตามมา เจ้าหน้าที่สาธารณสุขของรพ.สต.บ้านโคกมือบา จึงจำเป็นต้องจัดทำโครงการเพื่อแก้ไขปัญหาดังกล่าว

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อตรวจคัดกรองและประเมินความเสี่ยงต่อการเกิดโรคในประชาชนกลุ่มเป้าหมาย
  2. เพื่อให้ประชาขนกลุ่มเป้าหมาย มีความรู้และตระหนักถึงการดูแลสุขภาพและการป้องกันตนเอง จากโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง
  3. เพื่อให้ผู้ที่ตรวจคัดกรองพบภาวะเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและส่งต่อเพื่อรับการรักษาที่ถูกต้อง
  4. เพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนในกลุ่มป่วย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1.ประชาชนกลุ่มเป้าหมายอายุ 35 ปี ขึ้นไปได้รับการคัดกรองความดันโลหิต และน้ำตาลในเลือดร้อยละ 90 2.ประชาชนกลุ่มเป้าหมายอายุ 35 ปี ได้รับความรู้ในการปฏิบัติตัวและป้องกันการเกิดโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน รวมทั้งภาวะแทรกซ้อนจากโรคดังกล่าว 3.ผู้ที่ตรวจคัดกรองพบความเสี่ยงได้รับการส่งต่อเพื่อพบแพทย์วินิจฉัยและรับการรักษาอย่างต่อเนื่อง 4.ประชาชนกลุ่มเสี่ยง และกลุ่มป่วย สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของตนเองได้ที่สอดคล้องกับวิถีชีวิตชุมชน 5.ลดภาวะแทรกซ้อนใหม่ในกลุ่มป่วย


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    1. ประชาชนอายุ 35 ปี ขึ้นไปได้รับการคัดกรองความดันโลหิต จำนวน 873 คน คิดเป็นร้อยละ 96.36
    2. ประชาชนอายุ 35 ปี ขึ้นไปพบความเสี่ยงความดันโลหิตสูง จำนวน 276 คน คิดเป็นร้อยละ 31.62
    3. ประชาชนอายุ 35 ปี ขึ้นไปได้รับการคัดกรองน้ำตาลในเลือดจำนวน 1,063 คน คิดเป็นร้อยละ 94.32
    4. ประชาชนอายุ 35 ปี ขึ้นไปพบความเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน จำนวน 421 คน คิดเป็นร้อยละ 39.60
    5. ประชาชนกลุ่มเสี่ยง ได้ร่วมกิจกรรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมต่อเนื่อง 2 ครั้ง จำนวน 50 คน
    6. ประชาชนกลุ่มป่วย ได้ร่วมกิจกรรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของตนเองอย่างต่อเนื่องจำนวน 30 คน ปัญหา/อุปสรรค คือ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมทั้งกลุ่มป่วย และกลุ่มเสี่ยงยังมีข้อจำกัดหลายอย่าง เช่น พฤติกรรมของคนฐานะด้านเศรษฐกิจ ระดับการศึกษา วิถีชีวิตของชุมชน ความเคยชินของพฤติกรรม ระยะเวลาในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
      ข้อเสนอแนะ คือ ควรให้ความรู้ และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมโดยเริ่มตั้งแต่ขณะยังไม่เป็นวัยรุ่น

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อตรวจคัดกรองและประเมินความเสี่ยงต่อการเกิดโรคในประชาชนกลุ่มเป้าหมาย
    ตัวชี้วัด : 1. ประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้รับความรู้ในเรื่องโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูง
    0.00

     

    2 เพื่อให้ประชาขนกลุ่มเป้าหมาย มีความรู้และตระหนักถึงการดูแลสุขภาพและการป้องกันตนเอง จากโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง
    ตัวชี้วัด : 2. ประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้รับความรู้ในเรื่องโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูง
    0.00

     

    3 เพื่อให้ผู้ที่ตรวจคัดกรองพบภาวะเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและส่งต่อเพื่อรับการรักษาที่ถูกต้อง
    ตัวชี้วัด : 1.ผู้ที่มีภาวะเสี่ยงเข้าร่วมกิจกรรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 2.ผู้ที่มีภาวะเสี่ยงได้รับการตรวจคัดกรองซ้ำอย่างน้อย 2 ครั้ง 3.ผู้ที่มีภาวะเสี่ยงได้รับการส่งพบแพทย์เพื่อรับการรักษาที่ถูกต้อง
    0.00

     

    4 เพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนในกลุ่มป่วย
    ตัวชี้วัด : 1.ผู้ป่วยโรคเรื้อรังได้รับการรักษาอย่างต่อเนื่อง 2.อัตราการเกิดภาวะแทรกซ้อนรายใหม่ลดลง
    0.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อตรวจคัดกรองและประเมินความเสี่ยงต่อการเกิดโรคในประชาชนกลุ่มเป้าหมาย (2) เพื่อให้ประชาขนกลุ่มเป้าหมาย มีความรู้และตระหนักถึงการดูแลสุขภาพและการป้องกันตนเอง จากโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง (3) เพื่อให้ผู้ที่ตรวจคัดกรองพบภาวะเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและส่งต่อเพื่อรับการรักษาที่ถูกต้อง (4) เพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนในกลุ่มป่วย

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดภาวะเสี่ยงโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูง ปี 2565 จังหวัด นราธิวาส

    รหัสโครงการ 65-L2482-1-1

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางดาราวัลย์ บั้นบูรณ์ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด