กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ สานพลังเครือข่ายร่วมกันรณรงค์ฉีดวัคซีนโควิด-19 เชิงรุก ประจำปี ๒๕๖๕
รหัสโครงการ 65-L2506-01-004
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบองออำเภอระแงะจังหวัดนราธิวาส
วันที่อนุมัติ 18 เมษายน 2565
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 พฤษภาคม 2565 - 30 กันยายน 2565
กำหนดวันส่งรายงาน 31 สิงหาคม 2565
งบประมาณ 45,300.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางรอฮาโย หะยีหมัด
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ จังหวัดนราธิวาส
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานป้องกัน แก้ปัญหา และฟื้นฟู ในสถานการณ์โควิด-19
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 พ.ค. 2565 31 ส.ค. 2565 45,300.00
รวมงบประมาณ 45,300.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 300 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

เชื้อไวรัสโคโรน่าสายพันธุ์ใหม่ 2019 หรือ โควิด-19 เป็นไวรัสข้ามสายพันธุ์ที่สันนิษฐานว่าเกิดจากค้างคาวมาติดเชื้อในคน โดยเริ่มระบาดในมณฑลอู่ฮั่นของประเทศจีนในช่วงปลายปี ค.ศ.2019 จนกระทั่งมีการระบาดไปยังประเทศอื่นๆ ทั่วโลก สถานการณ์การแพร่ระบาดของ โควิด-19 มีความรุนแรงเพิ่มมากขึ้น ปัจจุบันสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อ โควิด-19 มีความรุนแรงเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง องค์การอนามัยโลกได้ประกาศว่าการแพร่ระบาดของเชื้อดังกล่าวเป็นภัยพิบัติฉุกเฉินระดับโลก ขณะเดียวกันประเทศไทยได้ประกาศให้โรคติดเชื้อ โควิด-19 เป็นโรคติดต่ออันตราย สถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโควิด-19 ของ 4 จังหวัดชายแดนภาคใต้ ตรัง พัทลุง สตูล ปัตตานี ยะลา นราธิวาสและสงขลา ที่ร้ายแรงไม่แพ้กรุงเทพฯและปริมณฑล กระทั่งรัฐบาลต้องประกาศมาตรการพิเศษเพื่อควบคุมการแพร่ระบาด ทำให้หน่วยงานที่รับผิดชอบพื้นที่เริ่มขยับทำโครงการจัดหาวัคซีนเอง เพื่อนำมาฉีดคนในพื้นที่ สถานการณ์การฉีดวัคซีนในเขตโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบองอ พบว่า ประชากรตามทะเบียนราษฎร์ ยังฉีดวัคซีนไม่ครบร้อยละ 70 ม.2 บ้านลาแป ยังขาดอีก 449 คนม.3 บ้านกูตง ยังขาดอีก 250 คนม.8 บ้านอาแน-โต๊ะอีแต ยังขาดอีก 231 คน และม.10 บ้านยะหอ ยังขาดอีก 98 คน

มาตรการสำคัญ คือ การเร่งฉีดวัคซีนโควิด-19 ให้กับกลุ่มเป้าหมายผู้สูงอายุ ติดเตียง ผู้ป่วยโรคเรื้อรังและผู้ที่มีความเสี่ยงสูงในพื้นที่ ดังนั้นชมรมอสม.รพ.สต.บองอร่วมกับองค์การบริหารส่วนตำบลบองอ จัดโครงการให้บริการฉีดวัคซีนเชิงรุกขึ้นในพื้นที่ปีที่ ๒ เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันหมู่ให้เกิดขึ้นในชุมชนต่อไป

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้เด็กอายุ 5-11ปี ได้รับวัคซีนโควิด-19

เพื่อให้เด็กอายุ 5-11ปี ได้รับวัคซีนโควิด-19ร้อยละ70

25.00 70.00
2 เพื่อให้ผู้ปกครองเด็กนักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเรื่องโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019

เพื่อให้ผู้ปกครองเด็กนักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเรื่องโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019  ร้อยละ 80

80.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 45,300.00 0 0.00
1 พ.ค. 65 - 30 ก.ย. 65 กิจกรรมจัดบริการฉีดวัคซีนโควิด-๑๙ เชิงรุก 0 3,750.00 -
1 - 30 มิ.ย. 65 ๒. กิจกรรมให้ความรู้เรื่องการฉีดวัคซีนโควิด-19 กลุ่มผู้ปกครองเด็กนักเรียน จำนวน ๓ รุ่น 0 41,550.00 -

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑. เด็กอายุ ๕-๑๑ปี ได้รับวัคซีนโควิด-19 ๒. เพื่อให้ผู้ปกครองเด็กนักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเรื่องโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 15 เม.ย. 2565 09:46 น.