โครงการค้นหาผู้ป่วยมะเร็งเต้านม และปากมดลูกรายใหม่ในชุมชน ปี 2565
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการค้นหาผู้ป่วยมะเร็งเต้านม และปากมดลูกรายใหม่ในชุมชน ปี 2565 ”
ตำบลโฆษิต อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นางดาราวัลย์ บั้นบูรณ์
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.โฆษิต
กันยายน 2565
ชื่อโครงการ โครงการค้นหาผู้ป่วยมะเร็งเต้านม และปากมดลูกรายใหม่ในชุมชน ปี 2565
ที่อยู่ ตำบลโฆษิต อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 65-L2482-1-5 เลขที่ข้อตกลง 6/2565
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2565
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการค้นหาผู้ป่วยมะเร็งเต้านม และปากมดลูกรายใหม่ในชุมชน ปี 2565 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลโฆษิต อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.โฆษิต ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการค้นหาผู้ป่วยมะเร็งเต้านม และปากมดลูกรายใหม่ในชุมชน ปี 2565
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการค้นหาผู้ป่วยมะเร็งเต้านม และปากมดลูกรายใหม่ในชุมชน ปี 2565 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลโฆษิต อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 65-L2482-1-5 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2565 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,000.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.โฆษิต เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
มะเร็งปากมดลูกถือเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศไทยพบเป็นอันดับ 2 ของมะเร็งในสตรีไทย รองจากมะเร็งเต้านม จากข้อมูลทะเบียนมะเร็งปี 2562 ประมาณการจำนวนผู้ป้วยรายใหม่ราว 5,500 คน หรือคิดเป็นอุบัติการณ์การเกิดโรค 9.3 คนต่อประชากรแสนคน และมีผู้เสียชีวิตประมาณ 2,200 คน อุบัติการณ์โดยรวมของมะเร็งปากมดลูกในช่วง 15 ปีที่ผ่านมาลดลงเพียงเล็กน้อย แต่จำนวนผู้ป่วยรายใหม่สูงขึ้นเรื่อยๆ ถ้าอุบัติการณ์ของมะเร็งปากมดลูกยังคงสูงในระดับนี้โดยไม่มีมาตรการหรือบุทธวิธีใหม่ที่มีประสิทธิภาพมาป้องกัน คาดว่าในปี พ.ศ.2568 จะมีจำนวนผู้ป่วยรายใหม่สูงขึ้นปีละประมาณ 13,082 คน เสียชีวิต 7,871 ราย สาเหตุของการเกิดโรคมะเร็งปากมดลูกยังไม่ทราบแน่ชัด
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโคกมือบา ต้องดำเนินการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกปี งบประมาณ 2565 จำนวน 110 คน จึงจะผ่านเกณฑ์ตัวชี้วัดการดำเนินงาน การตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกรายใหม่ในรอบ 5 ปี ร้อยละ 20
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโคกมือบา จึงได้จัดทำโครงการค้นหาผู้ป่วยมะเร็งเต้านม และปากมดลูกรายใหม่ในชุมชน ปี 2565 ขึ้น เพื่อติดตามการตรวจสุขภาพอย่างต่อเนื่องของผู้รับบริการ โดยเน้นการตรวจ Pap Smear เชิงรุกค้นหาเซลล์มะเร็งได้ในระยะเริ่มแรก รวมถึงตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมเบื้องต้น เพื่อการส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรคด้วยซึ่งจะเป็นแนวทางในการสกัดโรคก่อนลุกลาม
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้สตรีอายุ 30-60 ปี ที่ยังไม่ตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกภายใน 5 ปี ที่ผ่านมา มีความรู้เกี่ยวกับโรคมะเร็งปากมดลูก
- เพื่อให้สตรีอายุ 30-60 ปี ที่ยังไม่ตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกภายใน 5 ปี ที่ผ่านมา ให้ความร่วมมือในการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก
- เพื่อให้สตรีอายุ 30-70 ปี มีความรู้และสามารถตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมด้วยตนเองได้ในเบื้องต้น
- เพื่อให้สตรีที่ตรวจพบสิ่งผิดปกติได้รับส่งพบแพทย์และรับการรักษาที่ถูกต้อง
- เพื่อลดอัตราการเกิดโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมในระยะรุนแรง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- สำรวจและจัดทำทะเบียน
- จัดทำโครงการเสนอประธานกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลโหษิต
- จัดอบรมสตรีกลุ่มเป้าหมายอายุ 30 ปี ขึ้นไปเกี่ยวกับมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก
- ติดตามสตรีกลุ่มเป้าหมายรับการตรวจมะเร็งปากมดลูก
- 1.1 สำรวจสตรีอายุ 30-60 ปี ที่เคยเข้ารับการตรวจมะเร็งปากกมดลูกภายใน 5 ปี ที่ผ่านมา
- 1.2 จัดทำทะเบียนรายชื่อสตรีอายุ 30-60 ปี ที่เคยเข้ารับการตรวจมะเร็งปากมดลูกภายใน 5 ปีที่ผ่านมา
- 1.3 สำรวจสตรีอายุ 30-60 ปี ที่อาศัยอยู่จริงในพื้นที่เขตรับผิดชอบของ รพ.สต. บ้านโคกมือบา
- 1.4 จัดทำทะเบียนรายชื่อสตรีอายุ 30-60 ปี จากคลังข้อมูล HDC ที่ยังไม่เคยตรวจมะเร็งปากมดลูกภายใน 5 ปีที่ผ่านมา
- 2.1 คืนข้อมูลสถานการณ์ของโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม
- 2.2 ชี้แจงเหตุผลความจำเป็นในการจัดทำโครงการครั้งนี้
- 3.1 จัดอบรมสตรีกลุ่มเป้าหมายเกี่ยวกับมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก
- 3.2 สาธิตการตรวจมะเร็งเต้านมด้วยตนเองและให้สตรีกลุ่มเป้าหมายฝึกการตรวจมะเร็งเต้านมด้วยตนเอง
- 3.3 แลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างผู้ที่เคยได้รับการตรวจมะเร็งปากมดลูก และสตรีกลุ่มเป้าหมายรายใหม่
- 4.1 ประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อต่างๆ เช่น ป้ายประชาสัมพันธ์
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- สตรีกลุ่มเป้าหมายเกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมโดยการตรวจเต้านมเป็นประจำทุกเดือนด้วยตนเองได้
- สตรีกลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกตามเกณฑ์กำหนด
- สตรีกลุ่มเป้าหมายที่ตรวจพบสิ่งผิดปกติได้รับการส่งต่อเมื่อรับการรักษาอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้อัตราการเกิด โรคมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูกในระยะรุนแรงลดลง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ปี 2565 มีการเปลี่ยนแปลงรูปแบบวิธีการตรวจมะเร็งปากมดลูกจากวิธี Pap Smea เป็นวิธี HPV DNA Tese ส่งผลให้กลุ่มเป้าหมาย
ปี 2565 การกำหนดกลุ่มเป้าหมายจากนโยบายของกระทรวงสาธารณสุขที่ไม่ชัดเจน
ปี 2565 ระบบการตรวจแบบ HPV DNA Tese ยังไม่พร้อม และช่วงระยะเวลาในการรณรงค์เป็นระยะเวลาที่สั้นมาก ส่งผลให้ทางพื้นที่ไม่สามารถติดตามกลุ่มเป้าหมายตรวจได้เป้าที่วางไว้
แนวทางการแก้ไข คือ อธิบายกลุ่มเป้าหมายเรื่องวิธีการตรวจมะเร็งปากมดลูกแบบวิธี HPV DNA Tese แจ้งปัญหาที่เกิดจากนโยบายที่ไม่ชัดเจน และระบบการตรวจแบบ HPV DNA Tese ที่ไม่พร้อมใช้งานให้แก่หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อแก้ไขปัญหาต่อไป
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้สตรีอายุ 30-60 ปี ที่ยังไม่ตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกภายใน 5 ปี ที่ผ่านมา มีความรู้เกี่ยวกับโรคมะเร็งปากมดลูก
ตัวชี้วัด : สตรีอายุ 30-60 ปี ที่ยังไม่ตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกภายใน 5 ปี ที่ผ่านมา เข้ามาร่วมอบรมจำนวน 100 คน
100.00
2
เพื่อให้สตรีอายุ 30-60 ปี ที่ยังไม่ตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกภายใน 5 ปี ที่ผ่านมา ให้ความร่วมมือในการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก
ตัวชี้วัด : สตรีอายุ 30-60 ปีที่ยังไม่ตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกภายใน 5 ปี ที่ผ่านมา ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกร้อยละ 20
0.00
3
เพื่อให้สตรีอายุ 30-70 ปี มีความรู้และสามารถตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมด้วยตนเองได้ในเบื้องต้น
ตัวชี้วัด : สตรีอายุ 30-70 ปี มีความรู้และสามารถตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมด้วยตนเองได้ในเบื้องต้น ร้อยละ 90
90.00
4
เพื่อให้สตรีที่ตรวจพบสิ่งผิดปกติได้รับส่งพบแพทย์และรับการรักษาที่ถูกต้อง
ตัวชี้วัด : สตรีที่ตรวจพบสิ่งผิดปกติได้รับส่งพบแพทย์ ร้อยละ 100
100.00
5
เพื่อลดอัตราการเกิดโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมในระยะรุนแรง
ตัวชี้วัด : อัตราการเกิดโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมในระยะรุนแรงไม่เกินร้อยละ 5
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
0
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้สตรีอายุ 30-60 ปี ที่ยังไม่ตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกภายใน 5 ปี ที่ผ่านมา มีความรู้เกี่ยวกับโรคมะเร็งปากมดลูก (2) เพื่อให้สตรีอายุ 30-60 ปี ที่ยังไม่ตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกภายใน 5 ปี ที่ผ่านมา ให้ความร่วมมือในการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก (3) เพื่อให้สตรีอายุ 30-70 ปี มีความรู้และสามารถตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมด้วยตนเองได้ในเบื้องต้น (4) เพื่อให้สตรีที่ตรวจพบสิ่งผิดปกติได้รับส่งพบแพทย์และรับการรักษาที่ถูกต้อง (5) เพื่อลดอัตราการเกิดโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมในระยะรุนแรง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) สำรวจและจัดทำทะเบียน (2) จัดทำโครงการเสนอประธานกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลโหษิต (3) จัดอบรมสตรีกลุ่มเป้าหมายอายุ 30 ปี ขึ้นไปเกี่ยวกับมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก (4) ติดตามสตรีกลุ่มเป้าหมายรับการตรวจมะเร็งปากมดลูก (5) 1.1 สำรวจสตรีอายุ 30-60 ปี ที่เคยเข้ารับการตรวจมะเร็งปากกมดลูกภายใน 5 ปี ที่ผ่านมา (6) 1.2 จัดทำทะเบียนรายชื่อสตรีอายุ 30-60 ปี ที่เคยเข้ารับการตรวจมะเร็งปากมดลูกภายใน 5 ปีที่ผ่านมา (7) 1.3 สำรวจสตรีอายุ 30-60 ปี ที่อาศัยอยู่จริงในพื้นที่เขตรับผิดชอบของ รพ.สต. บ้านโคกมือบา (8) 1.4 จัดทำทะเบียนรายชื่อสตรีอายุ 30-60 ปี จากคลังข้อมูล HDC ที่ยังไม่เคยตรวจมะเร็งปากมดลูกภายใน 5 ปีที่ผ่านมา (9) 2.1 คืนข้อมูลสถานการณ์ของโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม (10) 2.2 ชี้แจงเหตุผลความจำเป็นในการจัดทำโครงการครั้งนี้ (11) 3.1 จัดอบรมสตรีกลุ่มเป้าหมายเกี่ยวกับมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก (12) 3.2 สาธิตการตรวจมะเร็งเต้านมด้วยตนเองและให้สตรีกลุ่มเป้าหมายฝึกการตรวจมะเร็งเต้านมด้วยตนเอง (13) 3.3 แลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างผู้ที่เคยได้รับการตรวจมะเร็งปากมดลูก และสตรีกลุ่มเป้าหมายรายใหม่ (14) 4.1 ประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อต่างๆ เช่น ป้ายประชาสัมพันธ์
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการค้นหาผู้ป่วยมะเร็งเต้านม และปากมดลูกรายใหม่ในชุมชน ปี 2565 จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 65-L2482-1-5
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางดาราวัลย์ บั้นบูรณ์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการค้นหาผู้ป่วยมะเร็งเต้านม และปากมดลูกรายใหม่ในชุมชน ปี 2565 ”
ตำบลโฆษิต อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นางดาราวัลย์ บั้นบูรณ์
กันยายน 2565
ที่อยู่ ตำบลโฆษิต อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 65-L2482-1-5 เลขที่ข้อตกลง 6/2565
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2565
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการค้นหาผู้ป่วยมะเร็งเต้านม และปากมดลูกรายใหม่ในชุมชน ปี 2565 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลโฆษิต อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.โฆษิต ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการค้นหาผู้ป่วยมะเร็งเต้านม และปากมดลูกรายใหม่ในชุมชน ปี 2565
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการค้นหาผู้ป่วยมะเร็งเต้านม และปากมดลูกรายใหม่ในชุมชน ปี 2565 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลโฆษิต อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 65-L2482-1-5 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2565 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,000.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.โฆษิต เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
มะเร็งปากมดลูกถือเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศไทยพบเป็นอันดับ 2 ของมะเร็งในสตรีไทย รองจากมะเร็งเต้านม จากข้อมูลทะเบียนมะเร็งปี 2562 ประมาณการจำนวนผู้ป้วยรายใหม่ราว 5,500 คน หรือคิดเป็นอุบัติการณ์การเกิดโรค 9.3 คนต่อประชากรแสนคน และมีผู้เสียชีวิตประมาณ 2,200 คน อุบัติการณ์โดยรวมของมะเร็งปากมดลูกในช่วง 15 ปีที่ผ่านมาลดลงเพียงเล็กน้อย แต่จำนวนผู้ป่วยรายใหม่สูงขึ้นเรื่อยๆ ถ้าอุบัติการณ์ของมะเร็งปากมดลูกยังคงสูงในระดับนี้โดยไม่มีมาตรการหรือบุทธวิธีใหม่ที่มีประสิทธิภาพมาป้องกัน คาดว่าในปี พ.ศ.2568 จะมีจำนวนผู้ป่วยรายใหม่สูงขึ้นปีละประมาณ 13,082 คน เสียชีวิต 7,871 ราย สาเหตุของการเกิดโรคมะเร็งปากมดลูกยังไม่ทราบแน่ชัด
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโคกมือบา ต้องดำเนินการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกปี งบประมาณ 2565 จำนวน 110 คน จึงจะผ่านเกณฑ์ตัวชี้วัดการดำเนินงาน การตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกรายใหม่ในรอบ 5 ปี ร้อยละ 20
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโคกมือบา จึงได้จัดทำโครงการค้นหาผู้ป่วยมะเร็งเต้านม และปากมดลูกรายใหม่ในชุมชน ปี 2565 ขึ้น เพื่อติดตามการตรวจสุขภาพอย่างต่อเนื่องของผู้รับบริการ โดยเน้นการตรวจ Pap Smear เชิงรุกค้นหาเซลล์มะเร็งได้ในระยะเริ่มแรก รวมถึงตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมเบื้องต้น เพื่อการส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรคด้วยซึ่งจะเป็นแนวทางในการสกัดโรคก่อนลุกลาม
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้สตรีอายุ 30-60 ปี ที่ยังไม่ตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกภายใน 5 ปี ที่ผ่านมา มีความรู้เกี่ยวกับโรคมะเร็งปากมดลูก
- เพื่อให้สตรีอายุ 30-60 ปี ที่ยังไม่ตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกภายใน 5 ปี ที่ผ่านมา ให้ความร่วมมือในการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก
- เพื่อให้สตรีอายุ 30-70 ปี มีความรู้และสามารถตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมด้วยตนเองได้ในเบื้องต้น
- เพื่อให้สตรีที่ตรวจพบสิ่งผิดปกติได้รับส่งพบแพทย์และรับการรักษาที่ถูกต้อง
- เพื่อลดอัตราการเกิดโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมในระยะรุนแรง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- สำรวจและจัดทำทะเบียน
- จัดทำโครงการเสนอประธานกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลโหษิต
- จัดอบรมสตรีกลุ่มเป้าหมายอายุ 30 ปี ขึ้นไปเกี่ยวกับมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก
- ติดตามสตรีกลุ่มเป้าหมายรับการตรวจมะเร็งปากมดลูก
- 1.1 สำรวจสตรีอายุ 30-60 ปี ที่เคยเข้ารับการตรวจมะเร็งปากกมดลูกภายใน 5 ปี ที่ผ่านมา
- 1.2 จัดทำทะเบียนรายชื่อสตรีอายุ 30-60 ปี ที่เคยเข้ารับการตรวจมะเร็งปากมดลูกภายใน 5 ปีที่ผ่านมา
- 1.3 สำรวจสตรีอายุ 30-60 ปี ที่อาศัยอยู่จริงในพื้นที่เขตรับผิดชอบของ รพ.สต. บ้านโคกมือบา
- 1.4 จัดทำทะเบียนรายชื่อสตรีอายุ 30-60 ปี จากคลังข้อมูล HDC ที่ยังไม่เคยตรวจมะเร็งปากมดลูกภายใน 5 ปีที่ผ่านมา
- 2.1 คืนข้อมูลสถานการณ์ของโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม
- 2.2 ชี้แจงเหตุผลความจำเป็นในการจัดทำโครงการครั้งนี้
- 3.1 จัดอบรมสตรีกลุ่มเป้าหมายเกี่ยวกับมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก
- 3.2 สาธิตการตรวจมะเร็งเต้านมด้วยตนเองและให้สตรีกลุ่มเป้าหมายฝึกการตรวจมะเร็งเต้านมด้วยตนเอง
- 3.3 แลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างผู้ที่เคยได้รับการตรวจมะเร็งปากมดลูก และสตรีกลุ่มเป้าหมายรายใหม่
- 4.1 ประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อต่างๆ เช่น ป้ายประชาสัมพันธ์
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- สตรีกลุ่มเป้าหมายเกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมโดยการตรวจเต้านมเป็นประจำทุกเดือนด้วยตนเองได้
- สตรีกลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกตามเกณฑ์กำหนด
- สตรีกลุ่มเป้าหมายที่ตรวจพบสิ่งผิดปกติได้รับการส่งต่อเมื่อรับการรักษาอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้อัตราการเกิด โรคมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูกในระยะรุนแรงลดลง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ปี 2565 มีการเปลี่ยนแปลงรูปแบบวิธีการตรวจมะเร็งปากมดลูกจากวิธี Pap Smea เป็นวิธี HPV DNA Tese ส่งผลให้กลุ่มเป้าหมาย ปี 2565 การกำหนดกลุ่มเป้าหมายจากนโยบายของกระทรวงสาธารณสุขที่ไม่ชัดเจน ปี 2565 ระบบการตรวจแบบ HPV DNA Tese ยังไม่พร้อม และช่วงระยะเวลาในการรณรงค์เป็นระยะเวลาที่สั้นมาก ส่งผลให้ทางพื้นที่ไม่สามารถติดตามกลุ่มเป้าหมายตรวจได้เป้าที่วางไว้ แนวทางการแก้ไข คือ อธิบายกลุ่มเป้าหมายเรื่องวิธีการตรวจมะเร็งปากมดลูกแบบวิธี HPV DNA Tese แจ้งปัญหาที่เกิดจากนโยบายที่ไม่ชัดเจน และระบบการตรวจแบบ HPV DNA Tese ที่ไม่พร้อมใช้งานให้แก่หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อแก้ไขปัญหาต่อไป
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้สตรีอายุ 30-60 ปี ที่ยังไม่ตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกภายใน 5 ปี ที่ผ่านมา มีความรู้เกี่ยวกับโรคมะเร็งปากมดลูก ตัวชี้วัด : สตรีอายุ 30-60 ปี ที่ยังไม่ตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกภายใน 5 ปี ที่ผ่านมา เข้ามาร่วมอบรมจำนวน 100 คน |
100.00 |
|
||
2 | เพื่อให้สตรีอายุ 30-60 ปี ที่ยังไม่ตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกภายใน 5 ปี ที่ผ่านมา ให้ความร่วมมือในการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ตัวชี้วัด : สตรีอายุ 30-60 ปีที่ยังไม่ตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกภายใน 5 ปี ที่ผ่านมา ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกร้อยละ 20 |
0.00 |
|
||
3 | เพื่อให้สตรีอายุ 30-70 ปี มีความรู้และสามารถตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมด้วยตนเองได้ในเบื้องต้น ตัวชี้วัด : สตรีอายุ 30-70 ปี มีความรู้และสามารถตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมด้วยตนเองได้ในเบื้องต้น ร้อยละ 90 |
90.00 |
|
||
4 | เพื่อให้สตรีที่ตรวจพบสิ่งผิดปกติได้รับส่งพบแพทย์และรับการรักษาที่ถูกต้อง ตัวชี้วัด : สตรีที่ตรวจพบสิ่งผิดปกติได้รับส่งพบแพทย์ ร้อยละ 100 |
100.00 |
|
||
5 | เพื่อลดอัตราการเกิดโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมในระยะรุนแรง ตัวชี้วัด : อัตราการเกิดโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมในระยะรุนแรงไม่เกินร้อยละ 5 |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 0 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้สตรีอายุ 30-60 ปี ที่ยังไม่ตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกภายใน 5 ปี ที่ผ่านมา มีความรู้เกี่ยวกับโรคมะเร็งปากมดลูก (2) เพื่อให้สตรีอายุ 30-60 ปี ที่ยังไม่ตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกภายใน 5 ปี ที่ผ่านมา ให้ความร่วมมือในการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก (3) เพื่อให้สตรีอายุ 30-70 ปี มีความรู้และสามารถตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมด้วยตนเองได้ในเบื้องต้น (4) เพื่อให้สตรีที่ตรวจพบสิ่งผิดปกติได้รับส่งพบแพทย์และรับการรักษาที่ถูกต้อง (5) เพื่อลดอัตราการเกิดโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมในระยะรุนแรง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) สำรวจและจัดทำทะเบียน (2) จัดทำโครงการเสนอประธานกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลโหษิต (3) จัดอบรมสตรีกลุ่มเป้าหมายอายุ 30 ปี ขึ้นไปเกี่ยวกับมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก (4) ติดตามสตรีกลุ่มเป้าหมายรับการตรวจมะเร็งปากมดลูก (5) 1.1 สำรวจสตรีอายุ 30-60 ปี ที่เคยเข้ารับการตรวจมะเร็งปากกมดลูกภายใน 5 ปี ที่ผ่านมา (6) 1.2 จัดทำทะเบียนรายชื่อสตรีอายุ 30-60 ปี ที่เคยเข้ารับการตรวจมะเร็งปากมดลูกภายใน 5 ปีที่ผ่านมา (7) 1.3 สำรวจสตรีอายุ 30-60 ปี ที่อาศัยอยู่จริงในพื้นที่เขตรับผิดชอบของ รพ.สต. บ้านโคกมือบา (8) 1.4 จัดทำทะเบียนรายชื่อสตรีอายุ 30-60 ปี จากคลังข้อมูล HDC ที่ยังไม่เคยตรวจมะเร็งปากมดลูกภายใน 5 ปีที่ผ่านมา (9) 2.1 คืนข้อมูลสถานการณ์ของโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม (10) 2.2 ชี้แจงเหตุผลความจำเป็นในการจัดทำโครงการครั้งนี้ (11) 3.1 จัดอบรมสตรีกลุ่มเป้าหมายเกี่ยวกับมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก (12) 3.2 สาธิตการตรวจมะเร็งเต้านมด้วยตนเองและให้สตรีกลุ่มเป้าหมายฝึกการตรวจมะเร็งเต้านมด้วยตนเอง (13) 3.3 แลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างผู้ที่เคยได้รับการตรวจมะเร็งปากมดลูก และสตรีกลุ่มเป้าหมายรายใหม่ (14) 4.1 ประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อต่างๆ เช่น ป้ายประชาสัมพันธ์
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการค้นหาผู้ป่วยมะเร็งเต้านม และปากมดลูกรายใหม่ในชุมชน ปี 2565 จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 65-L2482-1-5
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางดาราวัลย์ บั้นบูรณ์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......