กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการลดผู้สูบหน้าใหม่ในเยาวชน ปี 2565
รหัสโครงการ 65-L2482-1-7
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโคกมือบา
วันที่อนุมัติ 11 เมษายน 2565
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มีนาคม 2565 - 30 กันยายน 2565
กำหนดวันส่งรายงาน 12 ตุลาคม 2565
งบประมาณ 10,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางดาราวัลย์ บั้นบูรณ์
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลโฆษิต อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส
ละติจูด-ลองจิจูด 6.175,102.052place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานยาสูบ
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 มี.ค. 2565 30 ก.ย. 2565 10,000.00
รวมงบประมาณ 10,000.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

สถานการณ์ การสูบบุหรี่ในกลุ่มเยาวชนอายุ 12-18 ปี มีปริมาณสูงขึ้นถึงปีละ 1 แสนคน และสถิติเด็กไทยที่ติดบุหรี่ 10 คน จะมีเด็กติดบุหรี่ 7 คน เนื่องจากสถานการณ์การสูบบุหรี่ในเด็กประถมศึกษาไทยกำลังน่าเป็นห่วง มีแนวโน้มการสูบบุหรี่สูงขึ้น ซึ่งจากการสำรวจของกรมอนามัยพบว่า เด็กอายุน้อยที่สุดเริ่มครั้งแรก อายุเพียง 9 ปี ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการสูบบุหรี่ของเยาวชนมากที่สุด คือมีเพื่อนหรือคนรู้จักสอนให้สูบบุหรี่ และการมีคนในครอบครัวสูบบุหรี่รวมถึงการถูกใช้ให้ไปซื้อบุหรี่ เด็กขาดความรู้ความเข้าใจในพิษภัยของบุหรี่ การเลียนแบบจากสื่อภาพยนตร์ต่างๆที่ทำให้เด็กถูกชักจูงได้ง่ายจากกลยุทธ์การโฆษณา ในอดีตบุหรี่มี2 ชนิดคือ บุหรี่ที่ม้วนเอง และบุหรี่ที่ผลิตโดยเครื่องจักร ซึ่งบุหรี่ทั้งสองสามารถเป็นอันตรายต่อสุขภาพทั้งสิ้น ซึ่งบุหรี่ประเภทนี้ เป็นที่นิยมในกลุ่มนักสูบบุหรี่ทั่วไป ท้งเด็ก วัยรุ่น และวัยผู้ใหญ่ แต่ในปัจจุบันได้มีบุหรี่ไฟฟ้า ซึ่งมีวิวัฒนาการมาแล้วหลาย Generations โดยหลักๆ แล้วบุหรี่ไฟฟ้ามีด้วยกัน 2 ประเภท คือ Disposable E-cigarettes (บุหรี่ไฟฟ้าที่ใช้แล้วทิ้ง) Refillable E-cigarette (บุหรี่ไฟฟ้าชนิดเติมน้ำยา) ซึ่งกำลังเป็นที่นิยมในกล่มเด็กวัยรุ่นทั่วไป รวมทั้งเด็กวัยรุ่นและวัยเด็กในเขตตำบลโฆษิตด้วยเช่นกัน บุคลากรทางสาธารณสุข รพ.สต.บ้านโคกมือบา มีความพยายามที่จะรณรงค์เพื่อควบคู่การบริโภคบุหรี่ ม่งเน้นให้เกิดการลดการสูบบุหรี่ในนักสูบหน้าใหม่กลุ่มเยาวชน จึงได้จัดทำโครงการ ลดผู้สูบหน้าใหม่ในเยาวชน ปี 2565

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันยาเสพติดให้นักเรียนได้รับรู้ทราบถึงปัญหาและพิษภัยของยาเสพติด

นักเรียนได้รับรู้รับทราบถึงปัญหาและพิษภัยของยาเสพติด

0.00
2 เพื่อปลุกจิตสำนึกของเยาวชนให้มีความรู้ความเข้าใจ และตระหนักพิษภัยยาเสพติดที่มีผลต่อร่างกาย

นักเรียนสามารถบอกพฤติกรรมลดภาวะเสี่ยงการใช้สารเสพติดได้

0.00
3 เพื่อลดการแพร่ระบาดยาเสพติดในสถานศึกษา

โรงเรียนปลอดยาเสพติด

0.00
4 เพื่อลดนักสูบหน้าใหม่

อัตรานักสูบหน้าใหม่ลดลง

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
ลำดับกิจกรรมหลักงบประมาณมี.ค. 65เม.ย. 65พ.ค. 65มิ.ย. 65ก.ค. 65ส.ค. 65ก.ย. 65
1 จัดอบรบนักเรียนในเขตพื้นที่รับผิดชอบ(1 มิ.ย. 2565-31 ส.ค. 2565) 10,000.00              
รวม 10,000.00
1 จัดอบรบนักเรียนในเขตพื้นที่รับผิดชอบ กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 0 10,000.00 0 0.00
1 มิ.ย. 65 - 31 ส.ค. 65 1.1 จัดอบรมเรื่องความหมายของยาเสพติดและประเภทยาเสพติด 0 5,000.00 -
1 มิ.ย. 65 - 31 ส.ค. 65 1.2 จัดอบรมเรื่องโทษของยาเสพติดประเภทต่างๆ 0 5,000.00 -
1 มิ.ย. 65 - 31 ส.ค. 65 1.3 จัดอบรมเรื่องสาเหตุของการติดยาเสพติด 0 0.00 -
1 มิ.ย. 65 - 31 ส.ค. 65 1.4 จัดอบรมเรื่องการแพร่ระบาดของยาเสพติดในโรงเรียน 0 0.00 -
1 มิ.ย. 65 - 1 ต.ค. 65 1.5 จัดอบรมเรื่องป้องกันยาเสพติด 0 0.00 -

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.เยาวชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับยาเสพติด 2.เยาวชนสามารถป้องกันตนเองไม่ให้เข้าไปข้องเกี่ยวกับสารเสพติดได้

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 19 เม.ย. 2565 09:27 น.