กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จวบ


“ โครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 ในพื้นที่ตำบลจวบ ”

ตำบลจวบ อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางกัลยา อีซอ

ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 ในพื้นที่ตำบลจวบ

ที่อยู่ ตำบลจวบ อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 65-L8422-05-01 เลขที่ข้อตกลง 65-L8422-05-01

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 พฤษภาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 ในพื้นที่ตำบลจวบ จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลจวบ อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จวบ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 ในพื้นที่ตำบลจวบ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 ในพื้นที่ตำบลจวบ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลจวบ อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 65-L8422-05-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 พฤษภาคม 2565 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 256,400.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จวบ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ด้วยในปัจจุบัน สถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อโควิด -19 ยังมีอยู่ ทั้งที่เกิดขึ้นในประเทศไทยและอีกหลายประเทศทั่วโลก ทราบกันดีว่าเป็นโรคติดเชื้อที่มีการแพร่อย่างรวดเร็ว จากสถานการณ์การระบาดในตอนนี้ สายพันธุ์โอไมครอนจะกลายเป็นสายพันธุ์หลักในการระบาดอย่างรวดเร็วและคงระบาดอย่างต่อเนื่อง จึงมีความจำเป็นต้องเร่งดำเนินการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคโควิด – 19
ดังนั้น องค์การบริหารส่วนตำบลจวบ ได้เล็งเห็นความสำคัญของปัญหาดังกล่าว จึงจำเป็นต้องมีการดำเนินการให้ความรู้ คำแนะนำ การดูแลเฝ้าระวังป้องกันตนเองให้กับประชาชนในเขตพื้นที่ให้ทันต่อเหตุการณ์ เพื่อลดผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชน ตลอดจนป้องกันไม่ไห้เกิดการแพร่ระบาดของโรคในวงกว้าง ได้แก่ นักเรียน ประชาชนในพื้นที่ตำบลจวบ และแกนนำอาสาสมัครสาธารณสุขชุมชน
งานสาธารณสุข สำนักปลัด องค์การบริหารส่วนตำบลจวบ จึงได้จัดทำโครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 เพื่อป้องกันการแพร่ระบาดอย่างต่อเนื่องของเชื้อไวรัสโคโรน่าสายพันธุ์ใหม่2019 ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้ความรู้ คำแนะนำ การดูแลเฝ้าระวังป้องกันตนเองเรื่องโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ให้กับประชาชนในพื้นที่ตำบลจวบ 2. เพื่อลดความตื่นตระหนกและสร้างความพร้อมในการเผชิญกับการระบาดของโรค

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมชุมชนปลอดโรค
  2. อบรมให้ความรู้ แก่ นักเรียน 6 โรงเรียน จำนวน 800 คน
  3. อบรมให้ความรู้แกนนำอาสาสมัครสาธารณสุขชุมชน จำนวน 150 คน
  4. อบรมให้ความรู้ แก่ ประชาชน จำนวน 2รุ่นๆละ 120 คน
  5. กิจกรรมประชาสัมพันธ์

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
นักเรียน จำนวน 6 โรงเรียนๆละ 100 คน 600
ประชาชน จำนวน 8 หมู่บ้านๆละ 30 คน 30
แกนนำอาสาสมัครสาธารณสุข จำนวน 150 คน 150

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจและสามารถปฏิบัติตนตามแนวทางการป้องกันควบคุมการระบาดได้
  2. ลดความตื่นตระหนักของประชาชนและสร้างความพร้อมในการเผชิญกับการแพร่ระบาดของได้

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรมให้ความรู้ แก่ นักเรียน 6 โรงเรียน จำนวน 800 คน

วันที่ 27 มิถุนายน 2565

กิจกรรมที่ทำ

  • ค่าวิทยากรชั่วโมงละ 600บาท จำนวน 3 ชั่วโมง 6 โรงเรียน เป็นเงิน 10,800.-บาท
  • ค่าอาหารว่างจำนวน 800คนๆละ 1มื้อๆละ 25บาท เป็นเงิน 20,000.-บาท
  • ค่าวัสดุในการฝึกอบรม จำนวน 800คนๆละ 60บาท (สมุด ปากกา กระเป๋า) เป็นเงิน 48,000.-บาท
    รวมเป็นเงิน 78,800.-บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจและสามารถปฏิบัติตนตามแนวทางการป้องกันควบคุมการระบาดได้
  2. ลดความตื่นตระหนักของประชาชนและสร้างความพร้อมในการเผชิญกับการแพร่ระบาดของได้

 

800 0

2. อบรมให้ความรู้แกนนำอาสาสมัครสาธารณสุขชุมชน จำนวน 150 คน

วันที่ 28 มิถุนายน 2565

กิจกรรมที่ทำ

  • ค่าวิทยากรชั่วโมงละ 600บาท จำนวน 6 ชั่วโมง เป็นเงิน 3,600.-บาท
  • ค่าอาหารว่างจำนวน 150คนๆละ 2มื้อๆละ 25บาท เป็นเงิน 7,500.-บาท
  • ค่าอาหารกลางวันจำนวน 150คนๆละ 1มื้อๆละ 60บาท เป็นเงิน 9,000.-บาท
  • ค่าวัสดุในการฝึกอบรม จำนวน 150คนๆละ 60บาท (สมุด ปากกา กระเป๋า) เป็นเงิน 9,000.-บาท
    รวมเป็นเงิน 29,100.-บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจและสามารถปฏิบัติตนตามแนวทางการป้องกันควบคุมการระบาดได้
  2. ลดความตื่นตระหนักของประชาชนและสร้างความพร้อมในการเผชิญกับการแพร่ระบาดของได้

 

150 0

3. อบรมให้ความรู้ แก่ ประชาชน จำนวน 2รุ่นๆละ 120 คน

วันที่ 29 มิถุนายน 2565

กิจกรรมที่ทำ

รุ่นที่ 1
- ค่าวิทยากรชั่วโมงละ 600บาท จำนวน 6 ชั่วโมง เป็นเงิน 3,600.-บาท
- ค่าอาหารว่างจำนวน 120คนๆละ 2มื้อๆละ 25บาท เป็นเงิน 6,000.-บาท
- ค่าอาหารกลางวันจำนวน 120คนๆละ 1มื้อๆละ 60บาท เป็นเงิน 7,200.-บาท
- ค่าวัสดุในการฝึกอบรม จำนวน 120คนๆละ 60บาท (สมุด ปากกา กระเป๋า) เป็นเงิน 7,200.-บาท
รวมเป็นเงิน 24,000.-บาท

รุ่นที่ 2
- ค่าวิทยากรชั่วโมงละ 600บาท จำนวน 6 ชั่วโมง เป็นเงิน 3,600.-บาท
- ค่าอาหารว่างจำนวน 120คนๆละ 2มื้อๆละ 25บาท เป็นเงิน 6,000.-บาท
- ค่าอาหารกลางวันจำนวน 120คนๆละ 1มื้อๆละ 60บาท เป็นเงิน 7,200.-บาท
- ค่าวัสดุในการฝึกอบรม จำนวน 120คนๆละ 60บาท (สมุด ปากกา กระเป๋า) เป็นเงิน 7,200.-บาท
รวมเป็นเงิน 24,000.-บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจและสามารถปฏิบัติตนตามแนวทางการป้องกันควบคุมการระบาดได้
  2. ลดความตื่นตระหนักของประชาชนและสร้างความพร้อมในการเผชิญกับการแพร่ระบาดของได้

 

120 0

4. กิจกรรมประชาสัมพันธ์

วันที่ 30 มิถุนายน 2565

กิจกรรมที่ทำ

  • ป้ายไวนิลพร้อมโครงไม้ ขนาด 1.2 X 2.4 เซนติเมตร จำนวน 16 ป้ายๆละ 1,200.-บาท เป็นเงิน 19,200.-บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจและสามารถปฏิบัติตนตามแนวทางการป้องกันควบคุมการระบาดได้
  2. ลดความตื่นตระหนักของประชาชนและสร้างความพร้อมในการเผชิญกับการแพร่ระบาดของได้

 

0 0

5. กิจกรรมชุมชนปลอดโรค

วันที่ 30 มิถุนายน 2565

กิจกรรมที่ทำ

  • ค่าชุด PPE จำนวน 30ชุดๆละ 180บาท เป็นเงิน 5,400.-บาท
  • ค่าชุดตรวจ ATK จำนวน 500 ชุดๆละ 120บาท เป็นเงิน 60,000.-บาท
  • ถุงมือทางการแพทย์ จำนวน 10 กล่องๆละ 230บาท เป็นเงิน 2,300.-บาท
  • ค่าเครื่องผ่นละอองฝอยฆ่าเชื้อโรค จำนวน 2 เครื่องๆละ 2,000บาท เป็นเงิน 4,000.-บาท
  • แอลกอฮอล์ จำนวน 20 แกลลอนๆละ 480บาท เป็นเงิน 9,600.-บาท
    รวมเป็นเงิน 81,300.-บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจและสามารถปฏิบัติตนตามแนวทางการป้องกันควบคุมการระบาดได้
  2. ลดความตื่นตระหนักของประชาชนและสร้างความพร้อมในการเผชิญกับการแพร่ระบาดของได้

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อให้ความรู้ คำแนะนำ การดูแลเฝ้าระวังป้องกันตนเองเรื่องโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ให้กับประชาชนในพื้นที่ตำบลจวบ 2. เพื่อลดความตื่นตระหนกและสร้างความพร้อมในการเผชิญกับการระบาดของโรค
ตัวชี้วัด : 1. ประชาชนในพื้นที่ตำบลจวบ ได้รับความรู้ คำแนะนำ ดูแลเฝ้าระวังป้องกันตนเองเรื่องโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 2. การแพร่ระบาดของโรคไวรัสโคโรน่า 2019 ระบาดลดลง
1.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 780
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -
นักเรียน จำนวน 6 โรงเรียนๆละ 100 คน 600
ประชาชน จำนวน 8 หมู่บ้านๆละ 30 คน 30
แกนนำอาสาสมัครสาธารณสุข จำนวน 150 คน 150

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ความรู้ คำแนะนำ การดูแลเฝ้าระวังป้องกันตนเองเรื่องโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ให้กับประชาชนในพื้นที่ตำบลจวบ 2. เพื่อลดความตื่นตระหนกและสร้างความพร้อมในการเผชิญกับการระบาดของโรค

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมชุมชนปลอดโรค (2) อบรมให้ความรู้ แก่ นักเรียน 6 โรงเรียน จำนวน 800 คน (3) อบรมให้ความรู้แกนนำอาสาสมัครสาธารณสุขชุมชน จำนวน 150 คน (4) อบรมให้ความรู้ แก่ ประชาชน จำนวน 2รุ่นๆละ 120 คน (5) กิจกรรมประชาสัมพันธ์

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 ในพื้นที่ตำบลจวบ จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 65-L8422-05-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางกัลยา อีซอ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด