โครงการจัดตั้งตำบลพัฒนาการเด็กดี เริ่มที่นมแม่
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการจัดตั้งตำบลพัฒนาการเด็กดี เริ่มที่นมแม่ ”
ตำบลวังคีรี อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลวังคีรี
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.วังคีรี
ธันวาคม 2559
ชื่อโครงการ โครงการจัดตั้งตำบลพัฒนาการเด็กดี เริ่มที่นมแม่
ที่อยู่ ตำบลวังคีรี อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 4/2559 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2559 ถึง 31 ธันวาคม 2559
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการจัดตั้งตำบลพัฒนาการเด็กดี เริ่มที่นมแม่ จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลวังคีรี อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.วังคีรี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการจัดตั้งตำบลพัฒนาการเด็กดี เริ่มที่นมแม่
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการจัดตั้งตำบลพัฒนาการเด็กดี เริ่มที่นมแม่ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลวังคีรี อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 4/2559 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2559 - 31 ธันวาคม 2559 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,100.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.วังคีรี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันสภาพเศรษฐกิจและสังคมไทยมีการเปลี่ยนแปลงไปส่งผลกระทบต่อสถาบันครอบครัววิถีการดำรงชีวิตสภาพสิ่งแวดล้อมค่านิยมพฤติกรรมและสุขภาพโดยเฉพาะอย่างยิ่งในเด็กปฐมวัยที่ครอบครัวเคยอยู่พร้อมหน้ากันพ่อแม่ลูกและญาติแต่ต้องย้ายถิ่นไปทำงานต่างจังหวัดมีความจำเป็นต้องละทิ้งเด็กอ่อนไว้กับปู่ย่าตายายฝากไว้กับสถานรับเลี้ยงเด็กหรือปล่อยเด็กไว้กับญาติเด็กบางคนได้รับการเลี้ยงดูที่ไม่ถูกต้องส่งผลให้พัฒนาการของเด็กไม่เหมาะสมตามวัย
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลวังคีรีได้สำรวจข้อมูลงานอนามัยแม่และเด็กปีพ.ศง 2558พบว่าอัตราการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว6เดือนร้อยละ23.02(มากกว่าร้อยละ35)ผลการดำเนินงานในภาพรวมพบว่ายังไม่บรรลุเป้าหมายสาเหตุพบว่าการดูแลหญิงตั้งครรภ์ระยะคลอดและหลังคลอดรวมถึงการเชื่อมโยงสู่ชุมชนยังไม่เพียงพอขาดการแก้ไขและช่วยเหลืออย่างจริงจังในปัญหาแม่ทำงานนอกบ้านแม่และญาติขาดความรู้และทักษะที่ถูกต้องต่อการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่มีทัศนคติความเชื่อที่ผิดจากการโฆษณาประชาสัมพันธ์ของบริษัทผู้ผลิตและจำหน่ายอาหารทดแทนนมแม่เป็นต้น
เพื่อสนองตอบต่อคำขวัญพระราชทานและพระปณิธาณโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลวังคีรีจึงได้ประกาศวางแผนจัดตั้งตำบลพัฒนาการเด็กดีเริ่มที่นมแม่ในปีงบประมาณ 2559ขึ้นซึ่งมีเป้าหมายการพัฒนาด้านองค์ความรู้บุคลากรระบบบริการอนามัยแม่และเด็กที่มีมาตรฐานและบูรณาการพัฒนาเครือข่าย / ชมรมสายใยรักแห่งครอบครัวในทุกระดับของชุมชนโดยเน้นการมีส่วนร่วมของชุมชนและภูมิปัญญาท้องถิ่นให้เห็นความสำคัญของการส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่และการแก้ไขปัญหาสุขภาพอนามัยแม่และเด็กในพื้นที
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของท้องถิ่น ชุมชน เพื่อปกป้อง ส่งเสริม สนับสนุนการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
- เพื่อสร้างเครือข่ายการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่จากสถานบริการสู่ครับเรือนชุมชนและสถานประกอบการ
- เพื่อส่งเสริม สนับสนุน แม่และครอบครัวตัวอย่างในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่และปราชญ์นมเแม่เพื่อสายใยรักแห่งครอบครัว
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
50
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- อัตราการเลี้ยงด้วยนมแม่อย่างเดียว6เดือนเพิ่มเป็นร้อยละ60แม่และครอบครัวมีความเข้มแข็งและส่งผลให้คุณภาพชีวิตเด็ก0 – 5ปี ดีขึ้น
- ชุมชนมีระบบการดูแลเฝ้าระวังอนามัยแม่และเด็กที่มีประสิทธิภาพส่งผลให้เกิดตำบลนมแม่เพื่อสายใยรักแห่งครอบครัวต้นแบบที่เกิดการพัฒนาอย่างต่อเนื่องและยั่งยืนต่อไป
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. อบรมโครงการจัดตั้งตำบลพัฒนาการเด็กดี เริ่มที่นมแม่
วันที่ 18 พฤศจิกายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
คณะกรรมการตำบลตำบลพัฒนาการเด็กดี เริ่มที่นมแม่ จำนวน 15 คน ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ / ติดตามผลการดำเนินงาน ไตรมาสละ 1 ครั้ง โดยคณะกรรมการตำบลพัฒนาการเด็กดี เริ่มที่นมแม่
ทีม อสม. จำนวน 55 คน จัดเก็บข้อมูลหญิงตั้งครรภ์ หญิงหลังคลอด จัดทำทะเบียน ส่งต่อข้อมูล เพื่อการนำไปใช้ในศูนย์การเรียนรู้ชุมชนและจัดประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เดือนละ 1 ครั้ง โดย คณะกรรมการชมรมนมแม่และทีมจัดเก็บข้อมุลอนามัยแม่และเด็ก
อบรมพัฒนาศักยภาพ อสม. เชี่ยวชาญนมแม่ จำนวน 55 คน จำนวน 1 วัน และสร้างกระแสประชาสัมพันธ์ "ตำบลพัฒนาการเด็กดี เริ่มที่นมแม่" ความรู้เรื่อง "นมแม่" รณรงค์การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่่ในพื้นที่ ทางสื่สารชุมชน สัปดาห์ละ 1 ครั้ง เป็นระยะเวลา 3 เดือน โดย อสม.เชี่ยวชาญนมแม่
55
0
2. อบรมโครงการจัดตั้งตำบลพัฒนาการเด็กดี เริ่มที่นมแม่
วันที่ 22 ธันวาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
หน่วยงานภาครัฐ เอกชน องค์กรพัฒนาเอกชน สนับสนุนการดำเนินงานตามบทบาทแบบบูรณาการ โดย คณะกรรมการตำบลพัฒนาการเด็กดี เริ่มที่นมแม่ พัฒนามุมเรียนรู้ มุมพัฒนาการเด็ก มุมส่งเสริมการอ่านในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลวังคีรี
เยี่ยมบ้าน 6 ครั้ง / คน (แรกเกิด 7 วัน, 14 วัน, 1 เดือน, 2 เดือน, 4 เดือน และ 6 เดือน) ตามเกณฑ์ เพื่อสร้างความรู้และความเชื่อมั่นปรับเปลี่ยนทัศนคติและความเชื่อที่ถูกต้องในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ในหญิงตั้งครรภ์ หญิงหลังคลอด สามี ปู่ ยา ตา ยาย โดย ทีมเยี่ยมบ้าน
ติดตามและประเมินผลการดำเนินโครงการ โดยทีมกำกับ ติดตาม และประเมินผลโครงการตำบลพัฒนาการเด็กดี
100
100
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
จากการดำเนินโครงการจะเห็นได้ว่า ประชากรกลุ่มเป้าหมายให้ความสนใจกับโครงการดังกล่าวเป็นจำนวนมาก มีหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอดและครอบครัวให้ความสนใจในการดำเนินกิจกรรม จำนวน 500 ครอบครัว ภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วนทั้ง อบต. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โรงเรียน โรงพยาบาล ผู้สูงอายุ อสม. ผุ้นำชุมชนและสถานีอนามัย ให้ความร่วมมือในการประชุม ประสานงาน และร่วมกันจัดตั้งกองทุนนมแม่ตำบลวังคีรีขึ้น 1 กองทุน เพื่อสานต่องานของกิจกรรมตำบลพัฒนาการเด็กดี เริ่มที่นมแม่ให้เป็นรูปธรรมมากขึ้น ภาคีเครือข่ายมีการวางแผนการดำเนินโครงการทั้งการจัดทำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ อบรมพัฒนาศักยภาพ อสม. พร้อมวางแผนเสนอให้ อบต.วังคีร ช่วยขับเคลื่อนแผนการดำเนินงานในแผนพัฒนา 3 ปี เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน พร้อมกันนั้นทางภาคีเครือข่ายยังมีการประชาสัมพันธ์และให้ความรู้การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ทางเสียงตามสายโดยชมรมเสียงใส ห่วงใยสุขภาพ โดย อสม. และเสียงตามสายในโรงเรียนโดยดีเจน้อย พร้อมกันนี้ทางโรงเรียนและศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีการจัดตั้งมุมส่งเสริมการอ่านและมุมส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ทั้งนี้ยังร่วมกันออกเยี่ยมบ้านมารดาและทารกหลังคลอดผู้เข้าร่วมโครงการอีกด้วย
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของท้องถิ่น ชุมชน เพื่อปกป้อง ส่งเสริม สนับสนุนการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
ตัวชี้วัด :
2
เพื่อสร้างเครือข่ายการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่จากสถานบริการสู่ครับเรือนชุมชนและสถานประกอบการ
ตัวชี้วัด :
3
เพื่อส่งเสริม สนับสนุน แม่และครอบครัวตัวอย่างในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่และปราชญ์นมเแม่เพื่อสายใยรักแห่งครอบครัว
ตัวชี้วัด :
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
50
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
50
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของท้องถิ่น ชุมชน เพื่อปกป้อง ส่งเสริม สนับสนุนการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ (2) เพื่อสร้างเครือข่ายการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่จากสถานบริการสู่ครับเรือนชุมชนและสถานประกอบการ (3) เพื่อส่งเสริม สนับสนุน แม่และครอบครัวตัวอย่างในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่และปราชญ์นมเแม่เพื่อสายใยรักแห่งครอบครัว
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการจัดตั้งตำบลพัฒนาการเด็กดี เริ่มที่นมแม่ จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 4/2559
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลวังคีรี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการจัดตั้งตำบลพัฒนาการเด็กดี เริ่มที่นมแม่ ”
ตำบลวังคีรี อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลวังคีรี
ธันวาคม 2559
ที่อยู่ ตำบลวังคีรี อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 4/2559 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2559 ถึง 31 ธันวาคม 2559
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการจัดตั้งตำบลพัฒนาการเด็กดี เริ่มที่นมแม่ จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลวังคีรี อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.วังคีรี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการจัดตั้งตำบลพัฒนาการเด็กดี เริ่มที่นมแม่
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการจัดตั้งตำบลพัฒนาการเด็กดี เริ่มที่นมแม่ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลวังคีรี อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 4/2559 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2559 - 31 ธันวาคม 2559 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,100.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.วังคีรี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันสภาพเศรษฐกิจและสังคมไทยมีการเปลี่ยนแปลงไปส่งผลกระทบต่อสถาบันครอบครัววิถีการดำรงชีวิตสภาพสิ่งแวดล้อมค่านิยมพฤติกรรมและสุขภาพโดยเฉพาะอย่างยิ่งในเด็กปฐมวัยที่ครอบครัวเคยอยู่พร้อมหน้ากันพ่อแม่ลูกและญาติแต่ต้องย้ายถิ่นไปทำงานต่างจังหวัดมีความจำเป็นต้องละทิ้งเด็กอ่อนไว้กับปู่ย่าตายายฝากไว้กับสถานรับเลี้ยงเด็กหรือปล่อยเด็กไว้กับญาติเด็กบางคนได้รับการเลี้ยงดูที่ไม่ถูกต้องส่งผลให้พัฒนาการของเด็กไม่เหมาะสมตามวัย
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลวังคีรีได้สำรวจข้อมูลงานอนามัยแม่และเด็กปีพ.ศง 2558พบว่าอัตราการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว6เดือนร้อยละ23.02(มากกว่าร้อยละ35)ผลการดำเนินงานในภาพรวมพบว่ายังไม่บรรลุเป้าหมายสาเหตุพบว่าการดูแลหญิงตั้งครรภ์ระยะคลอดและหลังคลอดรวมถึงการเชื่อมโยงสู่ชุมชนยังไม่เพียงพอขาดการแก้ไขและช่วยเหลืออย่างจริงจังในปัญหาแม่ทำงานนอกบ้านแม่และญาติขาดความรู้และทักษะที่ถูกต้องต่อการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่มีทัศนคติความเชื่อที่ผิดจากการโฆษณาประชาสัมพันธ์ของบริษัทผู้ผลิตและจำหน่ายอาหารทดแทนนมแม่เป็นต้น
เพื่อสนองตอบต่อคำขวัญพระราชทานและพระปณิธาณโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลวังคีรีจึงได้ประกาศวางแผนจัดตั้งตำบลพัฒนาการเด็กดีเริ่มที่นมแม่ในปีงบประมาณ 2559ขึ้นซึ่งมีเป้าหมายการพัฒนาด้านองค์ความรู้บุคลากรระบบบริการอนามัยแม่และเด็กที่มีมาตรฐานและบูรณาการพัฒนาเครือข่าย / ชมรมสายใยรักแห่งครอบครัวในทุกระดับของชุมชนโดยเน้นการมีส่วนร่วมของชุมชนและภูมิปัญญาท้องถิ่นให้เห็นความสำคัญของการส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่และการแก้ไขปัญหาสุขภาพอนามัยแม่และเด็กในพื้นที
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของท้องถิ่น ชุมชน เพื่อปกป้อง ส่งเสริม สนับสนุนการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
- เพื่อสร้างเครือข่ายการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่จากสถานบริการสู่ครับเรือนชุมชนและสถานประกอบการ
- เพื่อส่งเสริม สนับสนุน แม่และครอบครัวตัวอย่างในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่และปราชญ์นมเแม่เพื่อสายใยรักแห่งครอบครัว
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | 50 | |
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- อัตราการเลี้ยงด้วยนมแม่อย่างเดียว6เดือนเพิ่มเป็นร้อยละ60แม่และครอบครัวมีความเข้มแข็งและส่งผลให้คุณภาพชีวิตเด็ก0 – 5ปี ดีขึ้น
- ชุมชนมีระบบการดูแลเฝ้าระวังอนามัยแม่และเด็กที่มีประสิทธิภาพส่งผลให้เกิดตำบลนมแม่เพื่อสายใยรักแห่งครอบครัวต้นแบบที่เกิดการพัฒนาอย่างต่อเนื่องและยั่งยืนต่อไป
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. อบรมโครงการจัดตั้งตำบลพัฒนาการเด็กดี เริ่มที่นมแม่ |
||
วันที่ 18 พฤศจิกายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นคณะกรรมการตำบลตำบลพัฒนาการเด็กดี เริ่มที่นมแม่ จำนวน 15 คน ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ / ติดตามผลการดำเนินงาน ไตรมาสละ 1 ครั้ง โดยคณะกรรมการตำบลพัฒนาการเด็กดี เริ่มที่นมแม่ ทีม อสม. จำนวน 55 คน จัดเก็บข้อมูลหญิงตั้งครรภ์ หญิงหลังคลอด จัดทำทะเบียน ส่งต่อข้อมูล เพื่อการนำไปใช้ในศูนย์การเรียนรู้ชุมชนและจัดประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เดือนละ 1 ครั้ง โดย คณะกรรมการชมรมนมแม่และทีมจัดเก็บข้อมุลอนามัยแม่และเด็ก อบรมพัฒนาศักยภาพ อสม. เชี่ยวชาญนมแม่ จำนวน 55 คน จำนวน 1 วัน และสร้างกระแสประชาสัมพันธ์ "ตำบลพัฒนาการเด็กดี เริ่มที่นมแม่" ความรู้เรื่อง "นมแม่" รณรงค์การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่่ในพื้นที่ ทางสื่สารชุมชน สัปดาห์ละ 1 ครั้ง เป็นระยะเวลา 3 เดือน โดย อสม.เชี่ยวชาญนมแม่
|
55 | 0 |
2. อบรมโครงการจัดตั้งตำบลพัฒนาการเด็กดี เริ่มที่นมแม่ |
||
วันที่ 22 ธันวาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นหน่วยงานภาครัฐ เอกชน องค์กรพัฒนาเอกชน สนับสนุนการดำเนินงานตามบทบาทแบบบูรณาการ โดย คณะกรรมการตำบลพัฒนาการเด็กดี เริ่มที่นมแม่ พัฒนามุมเรียนรู้ มุมพัฒนาการเด็ก มุมส่งเสริมการอ่านในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลวังคีรี เยี่ยมบ้าน 6 ครั้ง / คน (แรกเกิด 7 วัน, 14 วัน, 1 เดือน, 2 เดือน, 4 เดือน และ 6 เดือน) ตามเกณฑ์ เพื่อสร้างความรู้และความเชื่อมั่นปรับเปลี่ยนทัศนคติและความเชื่อที่ถูกต้องในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ในหญิงตั้งครรภ์ หญิงหลังคลอด สามี ปู่ ยา ตา ยาย โดย ทีมเยี่ยมบ้าน ติดตามและประเมินผลการดำเนินโครงการ โดยทีมกำกับ ติดตาม และประเมินผลโครงการตำบลพัฒนาการเด็กดี
|
100 | 100 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
จากการดำเนินโครงการจะเห็นได้ว่า ประชากรกลุ่มเป้าหมายให้ความสนใจกับโครงการดังกล่าวเป็นจำนวนมาก มีหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอดและครอบครัวให้ความสนใจในการดำเนินกิจกรรม จำนวน 500 ครอบครัว ภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วนทั้ง อบต. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โรงเรียน โรงพยาบาล ผู้สูงอายุ อสม. ผุ้นำชุมชนและสถานีอนามัย ให้ความร่วมมือในการประชุม ประสานงาน และร่วมกันจัดตั้งกองทุนนมแม่ตำบลวังคีรีขึ้น 1 กองทุน เพื่อสานต่องานของกิจกรรมตำบลพัฒนาการเด็กดี เริ่มที่นมแม่ให้เป็นรูปธรรมมากขึ้น ภาคีเครือข่ายมีการวางแผนการดำเนินโครงการทั้งการจัดทำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ อบรมพัฒนาศักยภาพ อสม. พร้อมวางแผนเสนอให้ อบต.วังคีร ช่วยขับเคลื่อนแผนการดำเนินงานในแผนพัฒนา 3 ปี เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน พร้อมกันนั้นทางภาคีเครือข่ายยังมีการประชาสัมพันธ์และให้ความรู้การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ทางเสียงตามสายโดยชมรมเสียงใส ห่วงใยสุขภาพ โดย อสม. และเสียงตามสายในโรงเรียนโดยดีเจน้อย พร้อมกันนี้ทางโรงเรียนและศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีการจัดตั้งมุมส่งเสริมการอ่านและมุมส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ทั้งนี้ยังร่วมกันออกเยี่ยมบ้านมารดาและทารกหลังคลอดผู้เข้าร่วมโครงการอีกด้วย
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของท้องถิ่น ชุมชน เพื่อปกป้อง ส่งเสริม สนับสนุนการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ตัวชี้วัด : |
|
|||
2 | เพื่อสร้างเครือข่ายการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่จากสถานบริการสู่ครับเรือนชุมชนและสถานประกอบการ ตัวชี้วัด : |
|
|||
3 | เพื่อส่งเสริม สนับสนุน แม่และครอบครัวตัวอย่างในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่และปราชญ์นมเแม่เพื่อสายใยรักแห่งครอบครัว ตัวชี้วัด : |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 50 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | 50 | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของท้องถิ่น ชุมชน เพื่อปกป้อง ส่งเสริม สนับสนุนการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ (2) เพื่อสร้างเครือข่ายการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่จากสถานบริการสู่ครับเรือนชุมชนและสถานประกอบการ (3) เพื่อส่งเสริม สนับสนุน แม่และครอบครัวตัวอย่างในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่และปราชญ์นมเแม่เพื่อสายใยรักแห่งครอบครัว
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการจัดตั้งตำบลพัฒนาการเด็กดี เริ่มที่นมแม่ จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 4/2559
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลวังคีรี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......