กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลมะรือโบตก


“ โครงการรวมพลังชุมชน ลด ละ เลิกบุหรี่ เพื่อสุขภาพ ชุมชนศิลา ”

จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางสารีนา ดือราแม

ชื่อโครงการ โครงการรวมพลังชุมชน ลด ละ เลิกบุหรี่ เพื่อสุขภาพ ชุมชนศิลา

ที่อยู่ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 65-L8302-2-23 เลขที่ข้อตกลง ...23/2565

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 6 มิถุนายน 2565 ถึง 31 สิงหาคม 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการรวมพลังชุมชน ลด ละ เลิกบุหรี่ เพื่อสุขภาพ ชุมชนศิลา จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลมะรือโบตก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการรวมพลังชุมชน ลด ละ เลิกบุหรี่ เพื่อสุขภาพ ชุมชนศิลา



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการรวมพลังชุมชน ลด ละ เลิกบุหรี่ เพื่อสุขภาพ ชุมชนศิลา " ดำเนินการในพื้นที่ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 65-L8302-2-23 ระยะเวลาการดำเนินงาน 6 มิถุนายน 2565 - 31 สิงหาคม 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,400.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลมะรือโบตก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

หลักการและเหตุผล การสูบบุหรี่เป็นสาเหตุสำคัญทางสุขภาพที่ร้ายแรงเป็นพฤติกรรมที่พบเห็นได้ในสังคมตั้งแต่วัยรุ่นจนถึงวัยผู้ใหญ่และวัยผู้สูงอายุซึ่งส่วนใหญ่นั้นจะเริ่มต้นจากวัยรุ่นโดยเฉพาะในกลุ่มเพื่อนที่จะนำไปสู่การมีพฤติกรรมของการเสพติดบุหรี่เป็นนิสัยและต่อเนื่องไปยังวัยผู้ใหญ่จากการสำรวจของสำนักงานสถิติแห่งชาติเมื่อปี 2560 พบว่าคนคนไทยอายุเกิน 15 ปีและสูบบุหรี่มากถึงเกือบ 10.7 ล้าน คน สูบบุหรี่เป็นประจำ การสูบบุหรี่นั้นก่อให้เกิดโรคและความเสี่ยงต่างๆมากมายผลเสียต่อสุขภาพของผู้สูบเอง เช่น เป็นโรคหัวใจและหลอดเลือด โรคปอดภูมิแพ้ไอเรื้อรัง มะเร็งต่างๆและยังส่งผลเสียต่อเศรษฐกิจ การงาน ผลเสียต่อสุขภาพของคนรอบข้างจากการได้รับความบุหรี่ และการมีสิ่งตกค้างจากควัน อานุภาพโลหะหนัก สารก่อมะเร็ง สารกัมมันตรังสีติดอยู่ตามเครื่องใช้ต่างๆและเสื้อผู้ซึ่งเป็นอันตรายอย่างยิ่งสำหรับเด็กเล็ก หากบุคคลเหล่านี้ไม่เลิกสูบบุหรี่จะมีผู้เสียชีวิตจากโรคอันสืบเนื่องมาจากการสูบบุหรี่ตำบลมะรือโบตก มีประชากรทั้งหมดในเขตพื้นที่จำนวน 8301 คน จำนวน 2042 คนคิดเป็นร้อยละ 24.60 ของประชากรทั้งหมดเพศชายมีอัตราการสูบบุหรี่ในอัตราที่สูงกว่าเพศหญิงและแนวโน้ม(ที่มา รพ.สต.มะรือโบตก ปี 2560)ของนักสูบหน้าใหม่คือกลุ่มเยาวชน ซึ่งมีประเด็นของปัจจัยแวดล้อมจากการสูบบุหรี่ของเยาวชน พบว่าบุคคลในครอบครัวและเพื่อนสนิทต่างมีบทบาทสำคัญต่อพฤติกรรมการสูบบุหรี่ของเยาวชนโดยเยาวชนที่อาศัยอยู่ในครัวเรือนที่มีผู้สูบบุหรี่จะมีอัตราการสูบสูงกว่าครัวเรือนที่ไม่มีการสูบบุหรี่ จึงมีความเสี่ยงที่จะทำให้มีผู้สูบบุหรี่รายใหม่เพิ่มขึ้น และการที่สูบบุหรี่อยู่ก่อนแล้วมีโอกาสสูบติดต่อจำนวนหลายม้วนด้วยความเคยชินและยังทำให้ผู้ที่อยู่รอบข้างได้รับความบุหรี่ที่มีความเสี่ยงเกิดโรคไม่แตกต่างจากคนที่สูบบุหรี่หรืออาจจะมากกว่าคนสูบบุหรี่ ทางกลุ่มชุมชนศิลามีความเห็นว่าควรจะมีการสนับสนุน รณรงค์และให้ความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้อง ถึงภัยอันตรายจากการสูบบุหรี่เพื่อประชาชนในชุชน ได้ ลด ละ เลิกสูบบุหรี่ จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้น


วิธีการดำเนินการ 1.ประชุมวางแผน 2.เสนอโครงการเพื่ออนุมัติ 3.ประชาสัมพันธ์ให้ผู้สนใจเข้าร่วมกิจกรรม 4.จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่อง ลด ละ เลิกสูบบุหรี่เพื่อสุขภาพ 5.ติดตามพฤติกรรมการสูบบุหรี่ของผู้เข้าร่วมโครงการ 6.รณรงค์การ ลด ละ เลิกบุหรี่โดยการติดป้ายรณรงค์ 7.สรุปผลการดำเนินงานกิจกรรมโครงการ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.ประชาชนและเยาวชน ห่างไกลจากความเสี่ยงของโรคร้ายแรงต่างๆ ที่มีจากการสูบบุหรี่
  2. เพื่อลดอัตราการสูบยาสูบของเด็กและเยาวชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้ เกี่ยวกับบุหรี่และโทษของบุหรี่

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 80
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.สร้างการรับรู้ความเข้าใจถึงพิษภัยของบุรีและความบุหรี่เกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการสูบบุหรี่เพื่อประชาชนเลิกบุหรี่ได้ 2.มีคนต้นแบบในชุมชนที่สามารถเลิกบุหรี่ได้และจำนวนผู้สูบบุหรี่ลดลง 3.สร้างสิ่งแวดล้อมปลอดบุหรี่


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรมให้ความรู้ เกี่ยวกับบุหรี่และโทษของบุหรี่

วันที่ 31 สิงหาคม 2565 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

-เชิญแกนนำเยาวชน กลุ่มสตรี และผู้สุบบุหรี่
-กิจกรรมอบรมให้ความรู้ พิษภัย บุหรี่ อันตรายจากควันบุหรี่

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีผู้แกนนำเยาวชน ผู้สุบบุหรี่ มาร่วมกิจกรรม และมีผู้สนใจ เข้าคลีนิกบุหรี่ ที่รพ.สต.

 

80 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.ประชาชนและเยาวชน ห่างไกลจากความเสี่ยงของโรคร้ายแรงต่างๆ ที่มีจากการสูบบุหรี่
ตัวชี้วัด : เพิ่มจำนวนคนในชุมชน ลด ละ เลิก บุหรี่ ตามลำดับ
3.00 3.00

 

2 เพื่อลดอัตราการสูบยาสูบของเด็กและเยาวชน
ตัวชี้วัด : อัตราการสูบบุหรี่ของเด็กและเยาวชนที่มีอายุไม่เกิน 25 ปี ลดลงเหลือ(ร้อยละ)
45.00 20.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 80 80
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 80 40
กลุ่มวัยทำงาน 0 40
กลุ่มผู้สูงอายุ 0
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.ประชาชนและเยาวชน ห่างไกลจากความเสี่ยงของโรคร้ายแรงต่างๆ ที่มีจากการสูบบุหรี่ (2) เพื่อลดอัตราการสูบยาสูบของเด็กและเยาวชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้ เกี่ยวกับบุหรี่และโทษของบุหรี่

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการรวมพลังชุมชน ลด ละ เลิกบุหรี่ เพื่อสุขภาพ ชุมชนศิลา จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 65-L8302-2-23

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสารีนา ดือราแม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด