กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการปรับเปลี่ยนกลุ่มผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่ควบคุมไม่ได้
รหัสโครงการ 2565-L5221-1-05
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่าบอน
วันที่อนุมัติ 3 มกราคม 2565
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 3 มกราคม 2565 - 30 กันยายน 2565
กำหนดวันส่งรายงาน 31 ตุลาคม 2565
งบประมาณ 8,800.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายชยธร แก้วลอย/ผอ.รพสต.ท่าบอน
พี่เลี้ยงโครงการ นายทนงค์ศักดิ์ ภักดีไพบูลย์สกุล
พื้นที่ดำเนินการ จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด 7.841386,100.323247place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานโรคเรื้อรัง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 2 พ.ค. 2565 30 มิ.ย. 2565 8,800.00
รวมงบประมาณ 8,800.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 40 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ผู้ป่วยความดันที่รับยา ที่ รพ.สต.ที่ควบคุมความดันไม่ได้ มีค่า ความดันมากกว่า160/100 mmHg
40.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

สถานการณ์โรคไม่ติดต่อเรื้อรังเป็นปัญหาสุขภาพอันดับหนึ่งของโลกและของประเทศไทย ทั้งใน มิติของจำนวนการเสียชีวิตและภาระโรคโดยรวม โดยเฉพาะสถานการณ์ความดันโลหิตสูง ที่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ซึ่งสาเหตุส่วนใหญ่มาจากพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่เหมาะสม จึงส่งผลให้เกิด การเปลี่ยนแปลงของสุขภาพ เช่น ระดับความดันโลหิตสูง นำไปสู่อาการของโรคที่รุนแรงขึ้น อาจก่อให้เกิดภาวะแทรกซ้อนตามมา ซึ่งส่วนสำคัญ ในการจัดการปัญหาสุขภาพดังกล่าวคือการพัฒนาระบบบริการของสถานบริการสาธารณสุขเพื่อจัดการ โรคไม่ติดต่อให้มีคุณภาพ และมีการดำเนินงานที่ครอบคลุมเข้าถึงผู้รับบริการ ทั้งนี้เครือข่ายสุขภาพและชุมชน มีส่วนร่วมในการดูแลกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยโรคไม่ติดต่ออีกด้วย
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่าบอน มีผู้ป่วยความดันโลหิตสูง ทั้งหมด จำนวน 546 คน มารับการรักษาที่ รพ.สต.ท่าบอน เป็นผู้ป่วยความดันโลหิตที่ไม่สามารถควบคุม จำนวน 40 คน คิดเป็นร้อยละ 60 ซึ่งมีจำนวนมาก ตามแนวทางการรักษาสำหรับผู้ป่วยโรคความดัน ถ้าหากควบคุมความดันโลหิตไม่ได้ ควรได้รับการส่งต่อไปรับการรักษาที่โรงพยาบาล เพื่อเป็นผลดีต่อสุขภาพของผู้ป่วยเอง แต่สำหรับผู้ป่วยที่มารับการรักษาที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่าบอน และไม่ต้องการไปรับการรักษาที่ โรงพยาบาลชุมชนเนื่องจากเกิดความล่าช้า เสียเวลาการเดินทาง ทำให้ผู้ป่วยไม่ต้องการรักษาที่โรงพยาบาลชุมชน
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่าบอนจึงมีแนวคิดเพื่อทำโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มผู้ป่วยโรคความดันโลหิตที่ควบคุมระดับความดันโลหิตไม่ได้

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1. ป่วยความดันโลหิตสูงและญาติผู้ดูแลมีความรู้ในการดูแลสุขภาพอย่างถูกต้อง
  1. ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงสามารถคุมระดับความดันน้อยกว่า 140/90 mmHg
100.00 100.00
2 ผู้ป่วยมีผลการตรวจภาวะแทรกซ้อนทางตา ไต เท้า ปกติ

ประชากรกลุ่มป่วยโรคความดันโลหิตสูงมีภาวะแทรกซ้อน

3.00 3.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 8,800.00 0 0.00
3 ม.ค. 65 - 30 ก.ย. 65 จัดกิจกรรมฝึกอบรมให้ความรู้การดูแล สุขภาพการป้องกันภาวะแทรกซ้อน ในผู้ป่วยความดันและญาติที่ดูแล 0 8,800.00 -

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงและญาติผู้ดูแลมีความรู้ในการดูแลสุขภาพอย่างถูกต้อง มีพฤติกรรมที่ถูกต้องในการป้องกันโรคความดันโลหิตสูง และภาวะแทรกซ้อนได้อย่างยั่งยืน ผู้ป่วยมีผลการตรวจภาวะแทรกซ้อนทางตา ไต เท้า ปกติ

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 22 เม.ย. 2565 10:19 น.