กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการดูแลช่วยเหลือนักเรียนที่มีปัญหาพฤติกรรม อารมณ์ การเรียน (โรงเรียนบ้านละหารยามู)
รหัสโครงการ 65-L3026-02-02
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานอื่นๆ ที่ไม่ใช่หน่วยงานสาธารณสุข เช่น โรงเรียน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงเรียนบ้านละหารยามู
วันที่อนุมัติ 28 มีนาคม 2565
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มิถุนายน 2565 - 30 กันยายน 2565
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2565
งบประมาณ 30,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาววิชญาดา ศรีคาม
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลกอลำ อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี
ละติจูด-ลองจิจูด 6.673,101.329place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 มิ.ย. 2565 30 ก.ย. 2565 30,000.00
รวมงบประมาณ 30,000.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 157 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

จากผลการสำรวจระดับสติปัญญาของกรมสุขภาพจิต พ.ศ. 2559 ด้วยการสุ่มตัวอย่าง 23,641 คน ด้วย SPM parallel version (Standard Progressive Matrices) ทำการทดสอบสติปัญญาในกลุ่มตัวอย่างเด็กที่กำลังศึกษาในชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ทั่วประเทศซึ่งเป็นตัวแทนในระดับจังหวัด 77 จังหวัดทั่วประเทศ ข้อมูลระดับสติปัญญาเด็กรายจังหวัด พบว่า IQ เฉลี่ยของเด็กไทย ทั่วประเทศเท่ากับ 98.23 ซึ่งต่ำกว่ามาตรฐานสากลยุคปัจจุบัน (IQ=100) และเมื่อเปรียบเทียบกับค่า IQ เฉลี่ย เด็กประถมศึกษาปีที่ 1 ใน ปี พ.ศ. 2554 ซึ่งเท่ากับ 94.58 พบว่ามีระดับ IQ เฉลี่ยเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญ แต่เมื่อพิจารณาภาพรวมของประเทศ พบว่ามีเด็กประถมศึกษาปีที่ 1 ที่มี IQ ต่ำกว่าเกณฑ์ปกติ (IQ

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1.เพื่อให้ บุคลากรทางการศึกษา/ผู้ปกครอง/ผู้ดูแลเด็ก ชุมชน มีความรู้ และทักษะในการดูแลช่วยเหลือนักเรียนที่มีปัญหาพฤติกรรม-อารมณ์ ในชุมชนของตนเอง

 

0.00
2 2.เพื่อให้เกิดการบูรณาการการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพจิตและป้องกันปัญหาสุขภาพจิตของนักเรียน ในพื้นที่และสามารถติดตามดูแลช่วยเหลือนักเรียนที่มีปัญหา พฤติกรรม-อารมณ์ เข้าสู่ระบบบริการ

 

0.00
3 เพื่อให้นักเรียนที่มีปัญหาพฤติกรรม-อารมณ์ ในชุมชนได้รับการดูแลช่วยเหลือเพื่อส่งเสริมสุขภาพจิตและป้องกันปัญหาสุขภาพจิตที่อาจจะเกิดขึ้นได้

 

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
  1. จัดเตรียมวัสดุ/อุปกรณ์ เพื่อป้องกันโรคโควิด-19 ตามแนวทางของกรมควบคุมโรค พร้อมประชุมชี้แจงแนวทางการดำเนินงานภายใต้โครงการ
    1. ให้ความรู้บุคลากรที่เกี่ยวข้องเพื่อส่งเสริมสุขภาพจิตและป้องกันปัญหาสุขภาพจิตแก่นักเรียน (โดยอาจนำหลักเกณฑ์การดูแลเด็กวัยเรียนที่มีปัญหาพฤติกรรม-อารมณ์ ของกรมสุขภาพจิตหรือของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง
      มาเป็นแนวทางประกอบการดำเนินงาน)
    2. สื่อสารสร้างความตระหนักในการส่งเสริม ความฉลาดทางสติปัญหาสติปัญญาและความฉลาดทางอารมณ์ 4. ติดตามเยี่ยมเสริมพลัง
    3. ทำการประเมินผลลัพธ์ด้วยแบบสอบถามวัดความพึงพอใจต่อการเข้ารับการอบรม ร้อยละ 85 และนักเรียนกลุ่มเสี่ยงที่มีปัญหา พฤติกรรม-อารมณ์ ได้รับการดูแลช่วยเหลือตามเกณฑ์ที่กำหนด ร้อยละ 50
    4. จัดทำรายงานสรุปผลการดำเนินงานตามโครงการ พร้อมจัดส่งรายงานผลการดำเนินงานให้คณะกรรมการ กองทุนทราบเมื่อเสร็จสิ้นโครงการ
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1) บุคลากรสาธารณสุข/บุคลากรทางการศึกษา/ผู้ปกครอง/ผู้ดูแลเด็ก/แกนนำชุมชน มีความรู้และทักษะ ในการดูแลช่วยเหลือนักเรียนที่มีปัญหาพฤติกรรม-อารมณ์ ในชุมชนของตนเอง 2) เกิดการบูรณาการการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพจิตและป้องกันปัญหาสุขภาพจิตกลุ่มวัยเรียนในพื้นที่ และสามารถติดตามดูแลช่วยเหลือนักเรียนที่มีปัญหา พฤติกรรม-อารมณ์ เข้าสู่ระบบบริการ 3) เด็กกลุ่มวัยเรียนที่มีปัญหาพฤติกรรม-อารมณ์ ในชุมชนได้รับการดูแลช่วยเหลือเพื่อส่งเสริมสุขภาพจิต และป้องกันปัญหาสุขภาพจิตที่อาจจะเกิดขึ้นได้

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 22 เม.ย. 2565 11:46 น.