โครงการอบรมเยาวชนปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลด ละ เลิกบุหรี่และสารเสพติด ประจำปี 2565
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการอบรมเยาวชนปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลด ละ เลิกบุหรี่และสารเสพติด ประจำปี 2565 ”
ตำบลสุไหงโก-ลก อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นายวัชริศ เจ๊ะเลาะ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก
สิงหาคม 2565
ชื่อโครงการ โครงการอบรมเยาวชนปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลด ละ เลิกบุหรี่และสารเสพติด ประจำปี 2565
ที่อยู่ ตำบลสุไหงโก-ลก อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 65-L6961-2-18 เลขที่ข้อตกลง 31/2565
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2565 ถึง 31 สิงหาคม 2565
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการอบรมเยาวชนปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลด ละ เลิกบุหรี่และสารเสพติด ประจำปี 2565 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสุไหงโก-ลก อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมเยาวชนปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลด ละ เลิกบุหรี่และสารเสพติด ประจำปี 2565
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการอบรมเยาวชนปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลด ละ เลิกบุหรี่และสารเสพติด ประจำปี 2565 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสุไหงโก-ลก อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 65-L6961-2-18 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2565 - 31 สิงหาคม 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 82,900.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 400 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ประเทศไทยต้องเผชิญกับปัญหายาเสพติดมาช้านาน โดยสภาพปัญหาได้เปลี่ยนแปลงไปตามสภาวะการณ์ของโลกในยุคปัจจุบัน เด็กและเยาวชนเริ่มใช้ยาเสพติดมีอายุน้อยลง จากระบบรายงาน บสต. ของศูนย์อำนวยการป้องกันแลปราบปรามกรมสุขภาพจิต พบว่า ผู้เข้ารับการบำบัดรักษายาเสพติด กระทรวงสาธารณสุข ปี 2556-2558 จำนวน 156884 คน 98421 คน และ 55683 คน ตามลำดับ โดยเป็นผู้เข้ารับการบำบัดรักษาในหน่วยงานสังกัดกรมสุขภาพจิต จำนวน 3975 คน 4071 คน และ 3912 คน ตามลำดับ จากสถิติการเข้ารับการบำบัดรักษาแม้ว่าจะมีแนวโน้มลดลง แต่กลับพบว่าผู้เข้ารับบำบัดรักษาเป็นเยาวชนอายุ ระหว่าง 15-24 ปี มีสัดส่วนมากถึงร้อยละ 50 (ศูนย์อำนวยการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด กรมสุขภาพจิต 2559) ซึ่งถือว่าเป็นกลุ่มเสี่ยงสำคัญที่ต้องมีการเฝ้าระวังอย่างใกล้ชิดเนื่องจากมีโอกาสเข้าไปเกี่ยวข้องกับยาเสพติด ควรได้รับการเสริมสร้างภูมิคุ้มกันต่อยาเสพติด และปัจจัยยั่วยุต่างๆ
รวมทั้งการเสริมสร้างทักษะชีวิตเพื่อป้องกันการกลับไปใช้ซ้ำ ซึ่งเมื่อจำแนกชนิดยาเสพติดที่มีผู้เข้ารับการบำบัดรักษามากที่สุด คือ ยาบ้า ร้อยละ 75.20 รองลงมา คือ กัญชา ร้อยละ 6.83 และกระท่อม ร้อยละ 4.17 ด้านพฤติกรรม
การใช้ยาเสพติดที่น่าเป็นกังวล คือ การใช้ยาเสพติดมากกว่า 1 ชนิดร่วมกันมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ซึ่งส่งผลให้การบำบัดรักษามีความยุ่งยากซับซ้อนมากขึ้น
นอกจากนี้ ปัจจุบันยังพบว่า เด็กและเยาวชนมีการนำสารต่างๆ ที่หาได้ง่ายมาผสมกันเพื่อให้ออกฤทธิ์เหมือนสารเสพติด ซึ่งเด็กและเยาวชนมีการทดลองดื่มสารเหล่านี้เนื่องจากมองว่าเกิดจากส่วนผสมของสารที่ไม่เป็นอันตราย โดย
ที่ไม่ได้คำนึงว่ามีฤทธิ์เสพติด ปัญหาสารเสพติดเป็นปัญหาที่เป็นภัยร้ายแรงต่อสุขภาพกาย และสุขภาพจิต ส่งผลต่อพัฒนาการทั้งด้านร่างกาย จิตใจ และสมองโดยเฉพาะในเด็กและเยาวชน ทั้งในระยะสั้น และ ระยะยาว กระทบต่อการ
พัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของประเทศ เยาวชนที่มีอายุุต่ำกว่า 25 ปี เป็นกลุ่มประชากรที่มีขนาดใหญ่ ซึ่งเป็นวัยที่ดำเนินชีวิตในช่วงหัวเลี้ยวหัวต่อ ใฝ่หาความรู้ อยากเห็น อยากลองของใหม่ รักพวกพ้อง รักเพื่อน เชื่อเพื่อน และมองหา
แบบอย่างเพื่อดำเนินรอยตามแบบ ทัศนคติที่ผิดๆเกี่ยวกับการใช้สารเสพติดในวัยรุ่น เช่น การเสพไอซ์ ทำให้ผอม ผิวขาว การเสพยาบ้าทำให้เพิ่มความตื่นเต้นในการมีเพศสัมพันธ์ อ่านหนังสือได้นานขึ้น ทำให้มีกำลังวังชา ทำให้มีจิตใจแจ่มใส ทำให้มีสุขภาพดี ทำให้สติปัญญาดี สามารถรักษาโรคบางอย่างได้ จากทัศนคติดังกล่าวทำให้เกิดความรู้สึกอยากลองใช้ จนมีการติดสารเสพติดนั้นในที่สุด
ชมรม อสม. เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก เห็นความสำคัญของปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการอบรมเยาวชนปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลด ละ เลิกบุหรี่และสารเสพติด ประจำปี 2565 นี้ขึ้น เพื่อเป็นการอบรมให้ความรู้ในการป้องกันตนเองจากสารเสพติดต่างๆ และเป็นการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่อาจส่งผลให้เด็กและเยาวชนในพื้นที่ไปยุ่งเกี่ยวกับสารเสพติดได้
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้เยาวชนได้รับรู้โทษ พิษภัยบุหรี่ และสารเสพติดประเภทต่างๆ
- เพื่อให้เยาวชนมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของตนเองอย่างเหมาะสม หันมาออกกำลังกาย เล่นกีฬาเพื่อสุขภาพที่ดี
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมอบรมให้ความรู้ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลด ละ เลิกบุหรี่และสารเสพติดและเข้าฐานเรียนรู้
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
400
กลุ่มวัยทำงาน
77
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- เยาวชนมีความรู้ วามเข้าใจโทษพิษภัยของบุหรี่และสารเสพติดเพิ่มขึ้น
- เยาวชนมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของตนเองอย่างเหมาะสม หันมาออกกำลังกาย เล่นกีฬาเพื่อสุขภาพที่ดี
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลด ละ เลิกบุหรี่และสารเสพติดและเข้าฐานเรียนรู้
วันที่ 1 กรกฎาคม 2565 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
กลุ่มเป้าหมาย
เยาวชนอายุ 10-15 ปี จำนวน 400 คน (จาก 4 โซนๆละ 100 คน)
อสม.จาก 31 ชุมชนๆละ 2 คน = 62 คน
คณะกรรมการ อสม. 15 คน
รวม 477 คน
รายละเอียดกิจกรรม
1. ขั้นเตรียมงาน
ประชุมคณะกรรมการเพื่อวางแผนรูปแบบกิจกรรม
ประสานเจ้าหน้าที่วิทยากร
จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ที่ต้องใช้ในโครงการ
2. ขั้นตอนดำเนินงาน
กิจกรรม อบรมให้ความรู้ โดยแบ่งเป็น 4 รุ่น ตามโซน 4 โซน ประกอบด้วย โซนขวัญประชา โซนสายชล โซนสันติภาพ โซนย่านการค้า โดยอบรม 1 วัน/รุ่น
โดยมีกำหนดการ ดังนี้
08.30 - 09.00 น. ลงทะเบียน
09.00 - 12.00 น. อบรมให้ความรู้ทางสื่อ เรื่องการเรียนรู้เข้าสู่วัยรุ่น บุหรี่และสารเสพติด โทษและพิษภัยของบุหรี่และสารเสพติด ปัญหาเด็กและเยาวชนต่อสังคม
12.00 - 13.00 น. พักรับประทานอาหาร
13.00 - 16.00 น. แบ่งกลุ่มละลายพฤติกรรม นำเสนอกิจกรรมตามกลุ่ม ทบทวนถอดบทเรียน
16.00 - 16.30 น. สรุปการดำเนินงาน
งบประมาณ
อาหารว่างและเครื่องดื่ม 23,850 บาท
อาหารกลางวัน 23,850 บาท
ค่าตอบแทนวิทยากร 7,200 บาท
ค่าตอบแทนวิทยากรกลุ่ม 18,000 บาท
ค่าป้ายโครงการ 1,200 บาท
ค่าไวนิลให้ความรู้ 4,800 บาท
ค่าวัสดุอุปกรณ์ 4,000 บาท
งบประมาณ 82,900 บาท
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ได้ความรู้
0
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้เยาวชนได้รับรู้โทษ พิษภัยบุหรี่ และสารเสพติดประเภทต่างๆ
ตัวชี้วัด : เยาวชนมีความรู้เรื่องโทษ พิษภัยของบุหรี่ และสารเสพติด ประเภทต่างๆมากขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 70
0.00
2
เพื่อให้เยาวชนมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของตนเองอย่างเหมาะสม หันมาออกกำลังกาย เล่นกีฬาเพื่อสุขภาพที่ดี
ตัวชี้วัด : เยาวชนมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของตนเอง ออกกำลังกาย และเล่นกีฬาเพื่อสุขภาพที่ดีไม่น้อยกว่าร้อยละ 60
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
477
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
400
กลุ่มวัยทำงาน
77
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เยาวชนได้รับรู้โทษ พิษภัยบุหรี่ และสารเสพติดประเภทต่างๆ (2) เพื่อให้เยาวชนมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของตนเองอย่างเหมาะสม หันมาออกกำลังกาย เล่นกีฬาเพื่อสุขภาพที่ดี
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลด ละ เลิกบุหรี่และสารเสพติดและเข้าฐานเรียนรู้
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการอบรมเยาวชนปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลด ละ เลิกบุหรี่และสารเสพติด ประจำปี 2565 จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 65-L6961-2-18
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายวัชริศ เจ๊ะเลาะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการอบรมเยาวชนปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลด ละ เลิกบุหรี่และสารเสพติด ประจำปี 2565 ”
ตำบลสุไหงโก-ลก อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นายวัชริศ เจ๊ะเลาะ
สิงหาคม 2565
ที่อยู่ ตำบลสุไหงโก-ลก อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 65-L6961-2-18 เลขที่ข้อตกลง 31/2565
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2565 ถึง 31 สิงหาคม 2565
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการอบรมเยาวชนปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลด ละ เลิกบุหรี่และสารเสพติด ประจำปี 2565 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสุไหงโก-ลก อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมเยาวชนปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลด ละ เลิกบุหรี่และสารเสพติด ประจำปี 2565
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการอบรมเยาวชนปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลด ละ เลิกบุหรี่และสารเสพติด ประจำปี 2565 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสุไหงโก-ลก อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 65-L6961-2-18 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2565 - 31 สิงหาคม 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 82,900.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 400 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ประเทศไทยต้องเผชิญกับปัญหายาเสพติดมาช้านาน โดยสภาพปัญหาได้เปลี่ยนแปลงไปตามสภาวะการณ์ของโลกในยุคปัจจุบัน เด็กและเยาวชนเริ่มใช้ยาเสพติดมีอายุน้อยลง จากระบบรายงาน บสต. ของศูนย์อำนวยการป้องกันแลปราบปรามกรมสุขภาพจิต พบว่า ผู้เข้ารับการบำบัดรักษายาเสพติด กระทรวงสาธารณสุข ปี 2556-2558 จำนวน 156884 คน 98421 คน และ 55683 คน ตามลำดับ โดยเป็นผู้เข้ารับการบำบัดรักษาในหน่วยงานสังกัดกรมสุขภาพจิต จำนวน 3975 คน 4071 คน และ 3912 คน ตามลำดับ จากสถิติการเข้ารับการบำบัดรักษาแม้ว่าจะมีแนวโน้มลดลง แต่กลับพบว่าผู้เข้ารับบำบัดรักษาเป็นเยาวชนอายุ ระหว่าง 15-24 ปี มีสัดส่วนมากถึงร้อยละ 50 (ศูนย์อำนวยการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด กรมสุขภาพจิต 2559) ซึ่งถือว่าเป็นกลุ่มเสี่ยงสำคัญที่ต้องมีการเฝ้าระวังอย่างใกล้ชิดเนื่องจากมีโอกาสเข้าไปเกี่ยวข้องกับยาเสพติด ควรได้รับการเสริมสร้างภูมิคุ้มกันต่อยาเสพติด และปัจจัยยั่วยุต่างๆ
รวมทั้งการเสริมสร้างทักษะชีวิตเพื่อป้องกันการกลับไปใช้ซ้ำ ซึ่งเมื่อจำแนกชนิดยาเสพติดที่มีผู้เข้ารับการบำบัดรักษามากที่สุด คือ ยาบ้า ร้อยละ 75.20 รองลงมา คือ กัญชา ร้อยละ 6.83 และกระท่อม ร้อยละ 4.17 ด้านพฤติกรรม
การใช้ยาเสพติดที่น่าเป็นกังวล คือ การใช้ยาเสพติดมากกว่า 1 ชนิดร่วมกันมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ซึ่งส่งผลให้การบำบัดรักษามีความยุ่งยากซับซ้อนมากขึ้น
นอกจากนี้ ปัจจุบันยังพบว่า เด็กและเยาวชนมีการนำสารต่างๆ ที่หาได้ง่ายมาผสมกันเพื่อให้ออกฤทธิ์เหมือนสารเสพติด ซึ่งเด็กและเยาวชนมีการทดลองดื่มสารเหล่านี้เนื่องจากมองว่าเกิดจากส่วนผสมของสารที่ไม่เป็นอันตราย โดย
ที่ไม่ได้คำนึงว่ามีฤทธิ์เสพติด ปัญหาสารเสพติดเป็นปัญหาที่เป็นภัยร้ายแรงต่อสุขภาพกาย และสุขภาพจิต ส่งผลต่อพัฒนาการทั้งด้านร่างกาย จิตใจ และสมองโดยเฉพาะในเด็กและเยาวชน ทั้งในระยะสั้น และ ระยะยาว กระทบต่อการ
พัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของประเทศ เยาวชนที่มีอายุุต่ำกว่า 25 ปี เป็นกลุ่มประชากรที่มีขนาดใหญ่ ซึ่งเป็นวัยที่ดำเนินชีวิตในช่วงหัวเลี้ยวหัวต่อ ใฝ่หาความรู้ อยากเห็น อยากลองของใหม่ รักพวกพ้อง รักเพื่อน เชื่อเพื่อน และมองหา
แบบอย่างเพื่อดำเนินรอยตามแบบ ทัศนคติที่ผิดๆเกี่ยวกับการใช้สารเสพติดในวัยรุ่น เช่น การเสพไอซ์ ทำให้ผอม ผิวขาว การเสพยาบ้าทำให้เพิ่มความตื่นเต้นในการมีเพศสัมพันธ์ อ่านหนังสือได้นานขึ้น ทำให้มีกำลังวังชา ทำให้มีจิตใจแจ่มใส ทำให้มีสุขภาพดี ทำให้สติปัญญาดี สามารถรักษาโรคบางอย่างได้ จากทัศนคติดังกล่าวทำให้เกิดความรู้สึกอยากลองใช้ จนมีการติดสารเสพติดนั้นในที่สุด
ชมรม อสม. เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก เห็นความสำคัญของปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการอบรมเยาวชนปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลด ละ เลิกบุหรี่และสารเสพติด ประจำปี 2565 นี้ขึ้น เพื่อเป็นการอบรมให้ความรู้ในการป้องกันตนเองจากสารเสพติดต่างๆ และเป็นการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่อาจส่งผลให้เด็กและเยาวชนในพื้นที่ไปยุ่งเกี่ยวกับสารเสพติดได้
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้เยาวชนได้รับรู้โทษ พิษภัยบุหรี่ และสารเสพติดประเภทต่างๆ
- เพื่อให้เยาวชนมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของตนเองอย่างเหมาะสม หันมาออกกำลังกาย เล่นกีฬาเพื่อสุขภาพที่ดี
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมอบรมให้ความรู้ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลด ละ เลิกบุหรี่และสารเสพติดและเข้าฐานเรียนรู้
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 400 | |
กลุ่มวัยทำงาน | 77 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- เยาวชนมีความรู้ วามเข้าใจโทษพิษภัยของบุหรี่และสารเสพติดเพิ่มขึ้น
- เยาวชนมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของตนเองอย่างเหมาะสม หันมาออกกำลังกาย เล่นกีฬาเพื่อสุขภาพที่ดี
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลด ละ เลิกบุหรี่และสารเสพติดและเข้าฐานเรียนรู้ |
||
วันที่ 1 กรกฎาคม 2565 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำกลุ่มเป้าหมาย ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นได้ความรู้
|
0 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้เยาวชนได้รับรู้โทษ พิษภัยบุหรี่ และสารเสพติดประเภทต่างๆ ตัวชี้วัด : เยาวชนมีความรู้เรื่องโทษ พิษภัยของบุหรี่ และสารเสพติด ประเภทต่างๆมากขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 |
0.00 |
|
||
2 | เพื่อให้เยาวชนมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของตนเองอย่างเหมาะสม หันมาออกกำลังกาย เล่นกีฬาเพื่อสุขภาพที่ดี ตัวชี้วัด : เยาวชนมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของตนเอง ออกกำลังกาย และเล่นกีฬาเพื่อสุขภาพที่ดีไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 477 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 400 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 77 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เยาวชนได้รับรู้โทษ พิษภัยบุหรี่ และสารเสพติดประเภทต่างๆ (2) เพื่อให้เยาวชนมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของตนเองอย่างเหมาะสม หันมาออกกำลังกาย เล่นกีฬาเพื่อสุขภาพที่ดี
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลด ละ เลิกบุหรี่และสารเสพติดและเข้าฐานเรียนรู้
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการอบรมเยาวชนปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลด ละ เลิกบุหรี่และสารเสพติด ประจำปี 2565 จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 65-L6961-2-18
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายวัชริศ เจ๊ะเลาะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......