กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ่อหิน


“ โครงการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กปลอดโรค ประจำปี 2565 (ศพด.บ้านหัวหิน) ”

ตำบลบ่อหิน อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นางสาววรยา ปูเงิน

ชื่อโครงการ โครงการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กปลอดโรค ประจำปี 2565 (ศพด.บ้านหัวหิน)

ที่อยู่ ตำบลบ่อหิน อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 65-L8429-03-05 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 28 มีนาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กปลอดโรค ประจำปี 2565 (ศพด.บ้านหัวหิน) จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ่อหิน อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ่อหิน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กปลอดโรค ประจำปี 2565 (ศพด.บ้านหัวหิน)



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กปลอดโรค ประจำปี 2565 (ศพด.บ้านหัวหิน) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ่อหิน อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 65-L8429-03-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 28 มีนาคม 2565 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 4,428.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ่อหิน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ตามพระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ.2537 และที่แก้ไขเพิ่มเติม มาตรา 67 ภายใต้บังคับของกฎหมาย องค์การบริหารส่วนตำบลบ่อหิน มีหน้าที่ต้องทำในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลบ่อหิน ดังต่อไปนี้ (5) ส่งเสริมการศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (6) ส่งเสริมการพัฒนาสตรี เด็ก เยาวชน ผู้สูงอายุ และผู้พิการ และสอดคล้องกับมาตรฐานสถานพัฒนาปฐมวัยแห่งชาติ มาตรฐานด้านที่ 1 การบริหารจัดการพัฒนาเด็กปฐมวัย ตัวบ่งชี้ที่ 1.4 การจัดการเพื่อส่งเสริมสุขภาพและการเรียนรู้ ตัวบ่งชี้ย่อย 1.4.2 ตัวบ่งชี้ที่ 1.5 การส่งเสริมการมีส่วนร่วมของครอบครัวและชุมชน ตัวบ่งชี้ย่อยที่ 1.5.2 มาตรฐานด้านที่ 2 ครู/ผู้ดูแลเด็กให้การดูแลและจัดประสบการณ์และการเล่นเพื่อพัฒนาเด็กปฐมวัย ตัวบ่งชี้ที่ 2.1 การดูแลและพัฒนาเด็กเล้กอย่ารอบด้านื 2.1.4 ตัวบ่งชี้ที่ 2.2 การส่งเสริมพัฒนาการด้านร่างกายปละการดูแลสุขภาพ ตัวบ่งชี้ย่อย 2.2.3 นั้น เด็กปฐมวัยเป็นช่วงที่สำคัญที่สุดในชีวิตเด็ก จึงควรได้รับการเลี้ยงดูเอาใจใส่อย่างไกล้ชิดและเหมาะสม เพื่อให้เด้กมีสุขภาพอนามัยที่สมบูรณ์และมีการพัฒนาการตามวัย อย่างไรก็ตามจากสภาพการเปลี่ยนแปลงของสังคมในปัจจุบันเด็กอายุตำ่กว่า 5 ปี มากกว่าร้อยละ 60 เป็นเด็กก่อนวัยเรียนต้องฝากไว้ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และโรงเรียนอนุบาลซึ่งเป็นสถานที่ที่เด้กอยู่รวมกันเป็นจำนวนมาก ปัจจุบันเกิดการระบาดของโรคไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID19) ตามที่กระทรวงสาธารณสุขเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 ในช่วงมาตรการผ่อนปรน สถานศึกษาภาครัฐและเอกชนได้จัดเตรียมความพร้อมในการเปิดภาคเรียนจำเป็นต้องมีการดำเนินการให้ความรู้ คำแนะนำ การดูแลป้องกันเฝ้าระวังตนเองให้กับนักเรียน สถานศึกษาที่ประกาศโดยกรมควบคุุมโรค วันที่ 17 พฤษภาคม 2563 ที่กำหนดนิยามผู้ป่วยและผู้สัมผัส การเตรียมสถานศึกาาก่อนเปิดภาคเรียน กิจกรรมการเฝ้าระวังและป้องกันโรคเมื่อเปิดการเรียนการสอน การทำความสะอาดในโรงเรียน กิจกรรมเมื่อพบผู้ป่วยยืนยันและการแยกตัวอยู่บ้านของผู้สัมผัสที่ไม่มีอาการ ศูนยืพัฒนาเด็กเล้กบ้านหัวหิน มีภารกิจรับผิดชอบเกี่ยวกับความปลอดภัยด้านสุขภาพของนักเรียนขณะอยุ่ในโรงเรียนจึงต้องมีมาตรการป้องกันไม่ให้เกิดการแพร่ระบาดของโรคติดต่อในศูนยืพัฒนาเด็กเล็ก ในปัจจุบันเพื่อให้การดำเนินงานด้านการเฝ้าระวังการป้องกันและควบคุมโรคในศูนยืพัฒนาเด็กเล้กให้มีประสิทธิภาพ และยังเป็นการเตรียมความพร้อมรับมือกับการระบาดของโรคติดเชื้อวึ่งอาจเกิดขึ้นในอนาคต จึงได้จัดโครงการศูนยืพัฒนาเด็กเล้กปลอดโรค ประจำปีงบประมาณ 2565 ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ครูผู้ดูแลเด็กสามารถป้องกันและควบคุมโรคติดต่อที่พบบ่อยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
  2. เพื่อให้ความรู้ คำแน่ะนำ การดูแลเฝ้าระวังป้องกันตนเองเรื่องโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 ให้กับนักเรียนและบุคลากนทางการศึกษาที่เกี่ยวข้อง
  3. เพื่อลดอัตราการเจ็บป่วยด้วยโรคทางเดินหายใจและโรคติดต่อต่างๆที่ส่งผลต่อพัฒนาการ สุขภาพที่ดีของเด็กและได้รับการยอมรับจากผู้ปกครองให้เป็นศูนย์พัฒนาเด็กเล็กปลอดโรค

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดอบรมให้ความรู้แก่นักเรียน ผู้ปกครอง โรคติดเชื้อไวรัส 2019 (COVID19)
  2. การจัดโครงการเพื่อขออนุมัติงบประมาณ ประสานกับกลุ่มเป้าหมายและเชิญเข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 27
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 27
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ครูผู้ดูแลเด็กสามารถป้องกันและควบคุมโรคติดต่อที่พบในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
  2. ครู นักเรียนและผู้ปกครองมีความรู้เกี่ยวกับการดูแล เฝ้าระวัป้องกันตนเองจากโรคติดเชื้อไวรัส 2019 (COVID19)
  3. สามารถลดอัตราการเจ็บป่วยด้วยระบบทางเดินหายใจ และโรคติดเชื้อไวรัส 2019 (COVID19)ที่ส่งผลต่อการพัฒนาและสุขภาพที่ดีของเด็กและได้รับการยอมรับจากผู้ปกครองให้เป็นศูนย์พัฒนาเด้กเล็กปลอดโรค

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. จัดอบรมให้ความรู้แก่นักเรียน ผู้ปกครอง โรคติดเชื้อไวรัส 2019 (COVID19)

วันที่ 31 พฤษภาคม 2565

กิจกรรมที่ทำ

จัดทำโครงการเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ จัดอบรมให้ความรู้แก่นักเรียน ผู้ปกครอง โรคติดเชื้อไวรัส 2019 (COVID19)

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ครูผู้ดูแลเด็ก ผู้ปกครอง และเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก มีความรู้ความเข้าใจและสามารถป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID19) และโรตติดเชื้อต่างๆ

 

52 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ครูผู้ดูแลเด็กสามารถป้องกันและควบคุมโรคติดต่อที่พบบ่อยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
ตัวชี้วัด : ครูผู้ดูแลเด็กสามารถป้องกันและควบคุมโรคติดต่อที่พบบ่อยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
90.00

 

2 เพื่อให้ความรู้ คำแน่ะนำ การดูแลเฝ้าระวังป้องกันตนเองเรื่องโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 ให้กับนักเรียนและบุคลากนทางการศึกษาที่เกี่ยวข้อง
ตัวชี้วัด : ครูผู้ดูแลเด็กและผู้ปกครองมีความรู้เกี่ยวกับการดูแลเฝ้าระวังป้องกันตนเองเรื่องโรคติดเชื้อไวรัส 2019 (COVID19)
90.00

 

3 เพื่อลดอัตราการเจ็บป่วยด้วยโรคทางเดินหายใจและโรคติดต่อต่างๆที่ส่งผลต่อพัฒนาการ สุขภาพที่ดีของเด็กและได้รับการยอมรับจากผู้ปกครองให้เป็นศูนย์พัฒนาเด็กเล็กปลอดโรค
ตัวชี้วัด : ลดอัตราการเจ็บป่วยด้วยโรคทางเดินหายใจและโรคติดต่อต่างๆที่ส่งผลต่อพัฒนาการ สุขภาพที่ดีของเด็กและได้รับการยอมรับจากผู้ปกครองให้เป็นศูนย์พัฒนาเด็กเล็กปลอดโรค
90.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 54
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 27
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 27
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ครูผู้ดูแลเด็กสามารถป้องกันและควบคุมโรคติดต่อที่พบบ่อยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก (2) เพื่อให้ความรู้ คำแน่ะนำ การดูแลเฝ้าระวังป้องกันตนเองเรื่องโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 ให้กับนักเรียนและบุคลากนทางการศึกษาที่เกี่ยวข้อง (3) เพื่อลดอัตราการเจ็บป่วยด้วยโรคทางเดินหายใจและโรคติดต่อต่างๆที่ส่งผลต่อพัฒนาการ สุขภาพที่ดีของเด็กและได้รับการยอมรับจากผู้ปกครองให้เป็นศูนย์พัฒนาเด็กเล็กปลอดโรค

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดอบรมให้ความรู้แก่นักเรียน ผู้ปกครอง โรคติดเชื้อไวรัส 2019 (COVID19) (2) การจัดโครงการเพื่อขออนุมัติงบประมาณ ประสานกับกลุ่มเป้าหมายและเชิญเข้าร่วมโครงการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กปลอดโรค ประจำปี 2565 (ศพด.บ้านหัวหิน) จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 65-L8429-03-05

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาววรยา ปูเงิน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด