กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เจ๊ะบิลัง


“ โครงการเผชิญการระบาดของ COVID-19 ตำบลเจ๊ะบิลัง อำเภอเมือง จังหวัดสตูล ประจำปีงบประมาณ 2565 ”

ตำบลเจ๊ะบิลัง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน หมู่ที่ 5 ต.เจ๊ะบิลัง

ชื่อโครงการ โครงการเผชิญการระบาดของ COVID-19 ตำบลเจ๊ะบิลัง อำเภอเมือง จังหวัดสตูล ประจำปีงบประมาณ 2565

ที่อยู่ ตำบลเจ๊ะบิลัง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 65-L5303-2-13 เลขที่ข้อตกลง 21/2565

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเผชิญการระบาดของ COVID-19 ตำบลเจ๊ะบิลัง อำเภอเมือง จังหวัดสตูล ประจำปีงบประมาณ 2565 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเจ๊ะบิลัง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เจ๊ะบิลัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเผชิญการระบาดของ COVID-19 ตำบลเจ๊ะบิลัง อำเภอเมือง จังหวัดสตูล ประจำปีงบประมาณ 2565



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเผชิญการระบาดของ COVID-19 ตำบลเจ๊ะบิลัง อำเภอเมือง จังหวัดสตูล ประจำปีงบประมาณ 2565 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเจ๊ะบิลัง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 65-L5303-2-13 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2565 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 45,500.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เจ๊ะบิลัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากสถานการณ์การระบาดของไวรัสโควิด-19 ซึ่งมีการประกาศกระทรวงสาธารณสุขให้ โรคไวรัสโคโรนา หรือ COVID-19 เป็นโรคร้ายแรง ทำให้เกิดการตื่นตระหนกของประชาชนทั่วโลกและคนไทย ซึ่งพบการระบาดไปในหลายประเทศส่งผลให้มีผู้เสียชีวิตจำนวนมาก การเจ็บป่วยมีผลกระทบรุนแรงต่อผู้ป่วยและครอบครัว ทำให้เกิดภาวะแทรกซ้อนจนเสียชีวิต ยังส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจสังคมอย่างรุนแรง สถานการณ์การระบาดกำลังแพร่กระจายยังไม่สามารถควบคุมได้ สาเหตุการเสียชีวิตส่วนใหญ่ ตัวไวรัส COVID-19 จะทำให้เกิดการไข้สูง จาม ไอ การอักเสบของปอดและเยื้อหุ้มปอดอย่างรุนแรง แต่อย่างไรก็ตามอัตราการตายไม่ได้สูงมากนักเพียง 1-3% ร้ายแรงน้อยกว่า SAR ซึ่งมีอัตราการตาย 10 %
      ดังนั้น มาตรการป้องกันไม่ให้ติดโรค COVID-19 นั้นถือว่าจำเป็น ด้วยการรักษาร่างกายให้แข็งแรง หลีกเลี่ยงปัจจัยเสี่ยงต่างๆ มีการส่งเสริมสุขภาพกาย สุขภาพจิตให้สมบูรณ์แข็งแรงอยู่เสมอ ออกกำลังกายเพื่อมิให้ป่วย การป้องกันตนเอง เช่น หลีกเลี่ยงการเดินทางไปในประเทศหรือสถานที่มีคนพลุกล่าน การล้างมือให้สะอาดอย่างถูกต้อง ทั้งด้วยแอลกอฮอล์เจล สบู่ การสวมหน้ากากอนามัยอย่างถูกวิธี การไม่นำเอามือมาป้ายหรือ จับหน้า ความรู้และเข้าใจการดำเนินไปของโรค เป็นสิ่งสำคัญในการป้องกันโรค ดังนั้นจึงจำเป็นต้องมีระบบเฝ้าระวังป้องกันโรค มีมาตรการแก้ไขสถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ให้ทันต่อเหตุการณ์ เพื่อลดผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชน ตลอดจนป้องกันไม่ให้เกิดการแพร่ระบาดของโรคในวงกว้าง โดยอาศัยการมีส่วนร่วมของชุมชนโดยเฉพาะอาสาสมัครสาธารณสุขและแกนนำชุมชน ในการปฏิบัติงานทั้งคัดกรอง ค้นหากลุ่มเป้าหมาย เฝ้าระวังบุคคลที่เดินทางกลับจากพื้นที่เสี่ยง และให้คำแนะนำการส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรคดังกล่าว       ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน หมู่ที่ 5 ตำบลเจ๊ะบิลัง อำเภอเมือง จังหวัดสตูล ได้ตระหนักถึงความสำคัญของการป้องกันการระบาดของไวรัสโควิด-19 จึงได้จัดทำโครงการเผชิญการระบาดของ COVID-19 ตำบลเจ๊ะบิลัง อำเภอเมือง จังหวัดสตูล เพื่อเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจแก่ประชาชนเกี่ยวกับโรคและการป้องกันโรค COVID-19 ประชาชนสามารถดูแลตนเองได้อย่างถูกต้องและเผยแพร่ความรู้ให้กับครอบครัวและชุมชน สร้างความปลอดภัยแก่ประชาชนและเป็นการลดการติดต่อแพร่ระบาดของโรค

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจแก่ประชาชนเกี่ยวกับโรคและการป้องกันโรค COVID-19
  2. เพื่อให้ประชาชนสามารถดูแลตนเองได้อย่างถูกต้อง ลดการติดต่อแพร่ระบาดของโรค
  3. เพื่อเฝ้าระวังสังเกตอาการบุคคลกลุ่มเสี่ยง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมเสริมสร้างความรู้ ความตระหนัก พัฒนาทักษะในการป้องกันดูแลสุขภาพแบบวิถีชีวิตใหม่
  2. พัฒนาศักยภาพทีมเพื่อร่วมออกแบบและพัฒนาระบบเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคโควิดในระดับหมู่บ้าน
  3. คัดกรองประชาชนในพื้นที่และเฝ้าระวังติดตามอาการผู้ที่เดินทางกลับจากพื้นที่เสี่ยงที่บ้าน
  4. ติดตามเฝ้าระวังสังเกตอาการ ประเมินอาการเบื้องต้น แก่กลุ่มเสี่ยงที่ต้องกักกันเพื่อสังเกต
  5. สำรวจข้อมูลสุขภาพกายใจและการได้รับผลกระทบจากโรคโควิดของคนในหมู่บ้าน
  6. ปฏิบัติงาน ณ จุดคัดกรองของชุมชน โรงเรียน ในการป้องกันและเฝ้าระวังโรคโควิด-19
  7. สรุปและรายงานผลการปฏิบัติงาน ให้เจ้าหน้าที่สาธารณสุข และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทราบ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 850
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับอาการของโรคและการป้องกันโรค COVID-19 สามารถปฏิบัติตนตามแนวทางการป้องกันควบคุมการระบาดได้อย่างถูกต้อง และสามารถเผยแพร่ความรู้ให้กับครอบครัวและชุมชน สร้างความปลอดภัยแก่ประชาชนและเป็นการลดการติดต่อแพร่ระบาดของโรค ลดความตื่นตระหนกของประชาชนและสร้างความพร้อมในการเผชิญกับการแพร่ระบาดของโรค
  2. บุคคลกลุ่มเสี่ยงที่ต้องกักกันเพื่อสังเกตอาการ ได้รับการเฝ้าระวังสังเกตอาการ ประเมินอาการเบื้องต้น และมีอสม.ปฏิบัติงาน ณ จุดคัดกรองของชุมชนในการป้องกัน โรงเรียน ตรวจคัดกรองและเฝ้าระวังโรคโควิด-19 เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. สรุปและรายงานผลการปฏิบัติงาน ให้เจ้าหน้าที่สาธารณสุข และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทราบ

วันที่ 1 มีนาคม 2565 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

สรุปและรายงานผลการปฏิบัติงาน ให้เจ้าหน้าที่สาธารณสุข และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทราบ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับอาการของโรคและการป้องกันโรค COVID-19 สามารถปฏิบัติตนตามแนวทางการป้องกันควบคุมการระบาดได้อย่างถูกต้อง และสามารถเผยแพร่ความรู้ให้กับครอบครัวและชุมชน สร้างความปลอดภัยแก่ประชาชนและเป็นการลดการติดต่อแพร่ระบาดของโรค ลดความตื่นตระหนกของประชาชนและสร้างความพร้อมในการเผชิญกับการแพร่ระบาดของโรค           2. บุคคลกลุ่มเสี่ยงที่ต้องกักกันเพื่อสังเกตอาการ ได้รับการเฝ้าระวังสังเกตอาการ ประเมินอาการเบื้องต้น และมีอสม.ปฏิบัติงาน ณ จุดคัดกรองของชุมชนในการป้องกัน โรงเรียน ตรวจคัดกรองและเฝ้าระวังโรคโควิด-19 เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ

 

0 0

2. คัดกรองประชาชนในพื้นที่และเฝ้าระวังติดตามอาการผู้ที่เดินทางกลับจากพื้นที่เสี่ยงที่บ้าน

วันที่ 18 กรกฎาคม 2565 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

คัดกรองประชาชนในพื้นที่และเฝ้าระวังติดตามอาการผู้ที่เดินทางกลับจากพื้นที่เสี่ยงที่บ้าน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับอาการของโรคและการป้องกันโรค COVID-19 สามารถปฏิบัติตนตามแนวทางการป้องกันควบคุมการระบาดได้อย่างถูกต้อง และสามารถเผยแพร่ความรู้ให้กับครอบครัวและชุมชน สร้างความปลอดภัยแก่ประชาชนและเป็นการลดการติดต่อแพร่ระบาดของโรค ลดความตื่นตระหนกของประชาชนและสร้างความพร้อมในการเผชิญกับการแพร่ระบาดของโรค           2. บุคคลกลุ่มเสี่ยงที่ต้องกักกันเพื่อสังเกตอาการ ได้รับการเฝ้าระวังสังเกตอาการ ประเมินอาการเบื้องต้น และมีอสม.ปฏิบัติงาน ณ จุดคัดกรองของชุมชนในการป้องกัน โรงเรียน ตรวจคัดกรองและเฝ้าระวังโรคโควิด-19 เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ

 

0 0

3. ปฏิบัติงาน ณ จุดคัดกรองของชุมชน โรงเรียน ในการป้องกันและเฝ้าระวังโรคโควิด-19

วันที่ 26 กรกฎาคม 2565 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

ปฏิบัติงาน ณ จุดคัดกรองของชุมชน โรงเรียน ในการป้องกันและเฝ้าระวังโรคโควิด-19

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับอาการของโรคและการป้องกันโรค COVID-19 สามารถปฏิบัติตนตามแนวทางการป้องกันควบคุมการระบาดได้อย่างถูกต้อง และสามารถเผยแพร่ความรู้ให้กับครอบครัวและชุมชน สร้างความปลอดภัยแก่ประชาชนและเป็นการลดการติดต่อแพร่ระบาดของโรค ลดความตื่นตระหนกของประชาชนและสร้างความพร้อมในการเผชิญกับการแพร่ระบาดของโรค
  2. บุคคลกลุ่มเสี่ยงที่ต้องกักกันเพื่อสังเกตอาการ ได้รับการเฝ้าระวังสังเกตอาการ ประเมินอาการเบื้องต้น และมีอสม.ปฏิบัติงาน ณ จุดคัดกรองของชุมชนในการป้องกัน โรงเรียน ตรวจคัดกรองและเฝ้าระวังโรคโควิด-19 เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ

 

0 0

4. ติดตามเฝ้าระวังสังเกตอาการ ประเมินอาการเบื้องต้น แก่กลุ่มเสี่ยงที่ต้องกักกันเพื่อสังเกต

วันที่ 2 สิงหาคม 2565 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

ติดตามเฝ้าระวังสังเกตอาการ ประเมินอาการเบื้องต้น แก่กลุ่มเสี่ยงที่ต้องกักกันเพื่อสังเกต

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับอาการของโรคและการป้องกันโรค COVID-19 สามารถปฏิบัติตนตามแนวทางการป้องกันควบคุมการระบาดได้อย่างถูกต้อง และสามารถเผยแพร่ความรู้ให้กับครอบครัวและชุมชน สร้างความปลอดภัยแก่ประชาชนและเป็นการลดการติดต่อแพร่ระบาดของโรค ลดความตื่นตระหนกของประชาชนและสร้างความพร้อมในการเผชิญกับการแพร่ระบาดของโรค
  2. บุคคลกลุ่มเสี่ยงที่ต้องกักกันเพื่อสังเกตอาการ ได้รับการเฝ้าระวังสังเกตอาการ ประเมินอาการเบื้องต้น และมีอสม.ปฏิบัติงาน ณ จุดคัดกรองของชุมชนในการป้องกัน โรงเรียน ตรวจคัดกรองและเฝ้าระวังโรคโควิด-19 เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ

 

0 0

5. สำรวจข้อมูลสุขภาพกายใจและการได้รับผลกระทบจากโรคโควิดของคนในหมู่บ้าน

วันที่ 4 สิงหาคม 2565 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

สำรวจข้อมูลสุขภาพกายใจและการได้รับผลกระทบจากโรคโควิดของคนในหมู่บ้าน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับอาการของโรคและการป้องกันโรค COVID-19 สามารถปฏิบัติตนตามแนวทางการป้องกันควบคุมการระบาดได้อย่างถูกต้อง และสามารถเผยแพร่ความรู้ให้กับครอบครัวและชุมชน สร้างความปลอดภัยแก่ประชาชนและเป็นการลดการติดต่อแพร่ระบาดของโรค ลดความตื่นตระหนกของประชาชนและสร้างความพร้อมในการเผชิญกับการแพร่ระบาดของโรค
  2. บุคคลกลุ่มเสี่ยงที่ต้องกักกันเพื่อสังเกตอาการ ได้รับการเฝ้าระวังสังเกตอาการ ประเมินอาการเบื้องต้น และมีอสม.ปฏิบัติงาน ณ จุดคัดกรองของชุมชนในการป้องกัน โรงเรียน ตรวจคัดกรองและเฝ้าระวังโรคโควิด-19 เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ

 

0 0

6. พัฒนาศักยภาพทีมเพื่อร่วมออกแบบและพัฒนาระบบเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคโควิดในระดับหมู่บ้าน

วันที่ 6 กันยายน 2565 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

พัฒนาศักยภาพทีมเพื่อร่วมออกแบบและพัฒนาระบบเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคโควิดในระดับหมู่บ้าน (ดำเนินกิจกรรม 2 วัน)

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับอาการของโรคและการป้องกันโรค COVID-19 สามารถปฏิบัติตนตามแนวทางการป้องกันควบคุมการระบาดได้อย่างถูกต้อง และสามารถเผยแพร่ความรู้ให้กับครอบครัวและชุมชน สร้างความปลอดภัยแก่ประชาชนและเป็นการลดการติดต่อแพร่ระบาดของโรค ลดความตื่นตระหนกของประชาชนและสร้างความพร้อมในการเผชิญกับการแพร่ระบาดของโรค
    1. บุคคลกลุ่มเสี่ยงที่ต้องกักกันเพื่อสังเกตอาการ ได้รับการเฝ้าระวังสังเกตอาการ ประเมินอาการเบื้องต้น และมีอสม.ปฏิบัติงาน ณ จุดคัดกรองของชุมชนในการป้องกัน โรงเรียน ตรวจคัดกรองและเฝ้าระวังโรคโควิด-19 เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ

 

0 0

7. กิจกรรมเสริมสร้างความรู้ ความตระหนัก พัฒนาทักษะในการป้องกันดูแลสุขภาพแบบวิถีชีวิตใหม่

วันที่ 12 กันยายน 2565 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.1 ลงพื้นที่สร้างความรู้ความเข้าใจแก่ประชาชนเกี่ยวกับสถานการณ์โรค การป้องกันโรค การคัดกรองโรค ประชาสัมพันธ์  แนะนำการล้างมือ 7 ขั้นตอน และการสวมหน้ากากอนามัยอย่างถูกวิธี

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับอาการของโรคและการป้องกันโรค COVID-19 สามารถปฏิบัติตนตามแนวทางการป้องกันควบคุมการระบาดได้อย่างถูกต้อง และสามารถเผยแพร่ความรู้ให้กับครอบครัวและชุมชน สร้างความปลอดภัยแก่ประชาชนและเป็นการลดการติดต่อแพร่ระบาดของโรค ลดความตื่นตระหนกของประชาชนและสร้างความพร้อมในการเผชิญกับการแพร่ระบาดของโรค
  2. บุคคลกลุ่มเสี่ยงที่ต้องกักกันเพื่อสังเกตอาการ ได้รับการเฝ้าระวังสังเกตอาการ ประเมินอาการเบื้องต้น และมีอสม.ปฏิบัติงาน ณ จุดคัดกรองของชุมชนในการป้องกัน โรงเรียน ตรวจคัดกรองและเฝ้าระวังโรคโควิด-19 เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจแก่ประชาชนเกี่ยวกับโรคและการป้องกันโรค COVID-19
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของประชาชน มีความรู้เรื่องอาการของโรคและการป้องกันโรค COVID-19

 

2 เพื่อให้ประชาชนสามารถดูแลตนเองได้อย่างถูกต้อง ลดการติดต่อแพร่ระบาดของโรค
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของประชาชนมีพฤติกรรมการป้องกันโรคอย่างถูกต้องและเผยแพร่ความรู้ให้กับครอบครัวและชุมชนได้

 

3 เพื่อเฝ้าระวังสังเกตอาการบุคคลกลุ่มเสี่ยง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ของบุคคลกลุ่มเสี่ยงได้รับการติดตามเฝ้าระวังสังเกตอาการที่บ้าน

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 850
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 850
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจแก่ประชาชนเกี่ยวกับโรคและการป้องกันโรค COVID-19 (2) เพื่อให้ประชาชนสามารถดูแลตนเองได้อย่างถูกต้อง ลดการติดต่อแพร่ระบาดของโรค (3) เพื่อเฝ้าระวังสังเกตอาการบุคคลกลุ่มเสี่ยง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมเสริมสร้างความรู้ ความตระหนัก พัฒนาทักษะในการป้องกันดูแลสุขภาพแบบวิถีชีวิตใหม่ (2) พัฒนาศักยภาพทีมเพื่อร่วมออกแบบและพัฒนาระบบเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคโควิดในระดับหมู่บ้าน (3) คัดกรองประชาชนในพื้นที่และเฝ้าระวังติดตามอาการผู้ที่เดินทางกลับจากพื้นที่เสี่ยงที่บ้าน (4) ติดตามเฝ้าระวังสังเกตอาการ ประเมินอาการเบื้องต้น แก่กลุ่มเสี่ยงที่ต้องกักกันเพื่อสังเกต (5) สำรวจข้อมูลสุขภาพกายใจและการได้รับผลกระทบจากโรคโควิดของคนในหมู่บ้าน (6) ปฏิบัติงาน ณ จุดคัดกรองของชุมชน โรงเรียน ในการป้องกันและเฝ้าระวังโรคโควิด-19 (7) สรุปและรายงานผลการปฏิบัติงาน ให้เจ้าหน้าที่สาธารณสุข และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทราบ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเผชิญการระบาดของ COVID-19 ตำบลเจ๊ะบิลัง อำเภอเมือง จังหวัดสตูล ประจำปีงบประมาณ 2565 จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 65-L5303-2-13

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน หมู่ที่ 5 ต.เจ๊ะบิลัง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด