กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

โครงการส่งเสริมความรู้ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ และประเมินภาวะเสี่ยงต่อการเกิดการหกล้มในผู้ป่วยโรคเรื้อรังในหมู่ที่ 2 3 5 ตำบลกันตังใต้ อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง ปี 2565

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กันตังใต้


“ โครงการส่งเสริมความรู้ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ และประเมินภาวะเสี่ยงต่อการเกิดการหกล้มในผู้ป่วยโรคเรื้อรังในหมู่ที่ 2 3 5 ตำบลกันตังใต้ อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง ปี 2565 ”

ตำบลกันตังใต้ อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นายวรรณกิจ สินอ่อน

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมความรู้ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ และประเมินภาวะเสี่ยงต่อการเกิดการหกล้มในผู้ป่วยโรคเรื้อรังในหมู่ที่ 2 3 5 ตำบลกันตังใต้ อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง ปี 2565

ที่อยู่ ตำบลกันตังใต้ อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 65-L1460-01-006 เลขที่ข้อตกลง 4/2565

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 10 มกราคม 2565 ถึง 20 สิงหาคม 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมความรู้ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ และประเมินภาวะเสี่ยงต่อการเกิดการหกล้มในผู้ป่วยโรคเรื้อรังในหมู่ที่ 2 3 5 ตำบลกันตังใต้ อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง ปี 2565 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกันตังใต้ อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กันตังใต้ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมความรู้ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ และประเมินภาวะเสี่ยงต่อการเกิดการหกล้มในผู้ป่วยโรคเรื้อรังในหมู่ที่ 2 3 5 ตำบลกันตังใต้ อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง ปี 2565



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมความรู้ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ และประเมินภาวะเสี่ยงต่อการเกิดการหกล้มในผู้ป่วยโรคเรื้อรังในหมู่ที่ 2 3 5 ตำบลกันตังใต้ อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง ปี 2565 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกันตังใต้ อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 65-L1460-01-006 ระยะเวลาการดำเนินงาน 10 มกราคม 2565 - 20 สิงหาคม 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 32,186.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กันตังใต้ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การที่ประชากรมีอายุยืนขึ้นทำให้โรคเรื้อรังที่เป็นผลจากการเสื่อมของสภาพร่างกาย กลายเป็นปัญหาสุขภาพที่สำคัญอย่างมากในปัจจุบัน ทั้งในประเทศที่พัฒนาแล้วและประเทศกำลังพัฒนา แม้ว่าจะมีความก้าวหน้าด้านเทคโนโลยีและวิทยาการทางการแพทย์อย่างมากในเวลาเดียวกัน แต่กลับพบว่ามีประชากรที่มีโรคเรื้อรังต่างๆ มากกว่าร้อยละ 50 คนไข้หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ)       การที่ประชากรมีอายุยืนขึ้นทำให้โรคเรื้อรังที่เป็นผลจากการเสื่อมของสภาพร่างกาย กลายเป็นปัญหาสุขภาพที่สำคัญอย่างมากในปัจจุบัน ทั้งในประเทศที่พัฒนาแล้วและประเทศกำลังพัฒนา แม้ว่าจะมีความก้าวหน้าด้านเทคโนโลยีและวิทยาการทางการแพทย์อย่างมากในเวลาเดียวกัน แต่กลับพบว่ามีประชากรที่มีโรคเรื้อรังต่างๆ มากกว่าร้อยละ 50 คนไข้โรคเรื้อรังที่พบบ่อย ได้แก่ เบาหวาน ความดันโลหิตสูง คนไข้โรคเรื้อรังมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ และในผู้ป่วยโรคเรื้อรังเหล่านี้ ยังพบว่า เกิดภาวะกระดูกพรุนเพิ่มมากขึ้น เป็นปัญหาสำคัญของการสาธารณสุข ต้องใช้งบประมาณจำนวนมากในการดูแลรักษาคนไข้กลุ่มนี้ เนื่องจากเป็นโรคที่รักษาไม่หาย คนไข้จะมีอาการกำเริบ เกิดภาวะแทรกซ้อนได้ง่าย เช่น เบาหวานอาจเกิดภาวะระดับน้ำตาลในเลือดสูงหรือต่ำเฉียบพลัน เกิดภาวะแทรกซ้อนทำให้ตาบอด ไตวาย เท้าเป็นแผลอักเสบจนต้องตัดขา ความดันโลหิตสูงทำให้หลอดเลือดในสมองแตก เกิดเป็นอัมพฤกษ์ อัมพาต การเกิดภาวะกระดูกพรุนในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ส่งผลให้ผู้ป่วยเสี่ยงต่อการหกล้ม และกระดูกหักได้มากขึ้น เป้าหมายการรักษาเพื่อป้องกันไม่ให้เกิดอาการกำเริบหรือภาวะแทรกซ้อนสาเหตุหนึ่งเกิดจากวิถีชีวิตและพฤติกรรม ที่สำคัญ ได้แก่ การกินอาหาร ทั้งประเภทและช่วงเวลาการกิน พฤติกรรมเสี่ยง คือ กินอาหารไม่ครบหมู่ กินอาหารบางหมู่มากเกินไป โดยเฉพาะอย่างยิ่งอาหารประเภทแป้ง น้ำตาล และไขมัน งดอาหารมื้อเช้า แต่กินอาหารมื้อเย็นมากเกินไป กินอาหารเสร็จถึงเวลาเข้านอน ดื่มสุรา และสูบบุหรี่ การทำงานที่ใช้แรงกายน้อย ขาดการออกกำลังกาย มีความเครียดสูง         จากข้อมูลผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง และเบาหวานของประชากรหมู่ที่ 2 3 5 ตำบลกันตังใต้ ปัจจุบันมีผู้ป่วยรับบริการในคลินิกโรคเรื้อรังของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลกันตังใต้ จำนวน 170 คน สามารถแบ่งเป็นกลุ่มประสิทธิภาพทางการดูแลได้ดังนี้ ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 170 คน กลุ่มที่ 1 กลุ่มผู้ป่วยที่สามารถควบคุมระดับความดันโลหิตสูงได้อยู่ในระดับดี จำนวน 74 คน คิดเป็นร้อยละ 43.52 กลุ่มที่ 2 กลุ่มผู้ป่วยที่สามารถควบคุมระดับความดันโลหิตได้อยู่ในระดับปานกลาง จำนวน 83 คน คิดเป็นร้อยละ 48.82 กลุ่มที่ 3 กลุ่มผู้ป่วยที่สามารถควบคุมระดับความดันโลหิตอยู่ในระดับต่ำ จำนวน 13 คน คิดเป็นร้อยละ 7.64 ผู้ป่วยโรคเบาหวาน จำนวน 27 คน กลุ่มที่ 1 กลุ่มผู้ป่วยที่สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในกระแสเลือดอยู่ในระดับดี จำนวน 11 คน คิดเป็นร้อยละ 40.74 กลุ่มที่ 2 กลุ่มผู้ป่วยที่สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในกระแสเลือดอยู่ในระดับปานกลาง จำนวน 11 คน คิดเป็นร้อยละ 40.74 กลุ่มที่ 3 กลุ่มผู้ป่วยที่สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในกระแสเลือดอยู่ในระดับต่ำ จำนวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 18.51 ผู้ป่วยในกลุ่มที่ 2และ3 คือกลุ่มที่ควรได้รับการควบคุมเพื่อป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนเช่น โรคอัมพฤกษ์ อัมพาต จนกลายเป็นผู้ป่วยติดบ้านติดเตียงในอนาคต และจากสถิติในปีที่ผ่านมา พบว่า ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง เกิดการหกล้ม และมีภาวะกระดูกหักเพิ่มมากขึ้น ซึ่งหากผู้ป่วยโรคเรื้อรังเกิดโรคภาวะแรกซ้อนเหล่านี้ จะทำให้กลายเป็นผู้ป่วยติดเตียงได้
        โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลกันตังใต้ เล็งเห็นความสำคัญของการดูแลผู้ป่วยในกลุ่มนี้ จึงได้ทำโครงการส่งเสริมความรู้ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ และประเมินภาวะเสี่ยงต่อการเกิดการหกล้มในผู้ป่วยโรคเรื้อรังในหมู่ที่ 2 3 5 ตำบลกันตังใต้ อำเภอกันตัง จังหวัดตรังขึ้น เพื่อช่วยลดการเกิดภาวะแทรกซ้อน และการเพิ่มของผู้ป่วยติดบ้านติดเตียง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
  2. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับการประเมินภาวะเสี่ยงต่อการเกิดการหกล้ม

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ทำป้ายโครงการ
  2. ช่วงที่ 1 ให้ความรู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม และการประเมินความเสี่ยงต่อการหกล้ม
  3. ช่วงที่ 2 การวัดความดันและระดับน้ำตาลที่บ้านโดยผู้ป่วย และจดบันทึกผล ในผู้ป่วยกลุ่มที่ 3

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 50
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ผู้ป่วยหรือผู้ดูแลมีความรู้ สามารถดูแลตนเอง วัดความดันโลหิต และเจาะเลือดเพื่อดูน้ำตาลในกระแสเลือดได้อย่างถูกต้อง ได้รับการปรับเปลี่ยนการใช้ยาได้ตามความเหมาะสม ทราบผลการประเมินภาวะเสี่ยงต่อการหกล้ม ผู้ดูแลช่วยเหลือป้องกันการหกล้มได้เพิ่มขึ้น


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ในการดูแลสุขภาพอยู่ในระดับดี อย่างน้อยร้อยละ 80
0.00

 

2 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับการประเมินภาวะเสี่ยงต่อการเกิดการหกล้ม
ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับการประเมินภาวะเสี่ยงต่อการเกิดการหกล้ม อย่างน้อยร้อยละ 80
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 50 50
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (2) เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับการประเมินภาวะเสี่ยงต่อการเกิดการหกล้ม

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ทำป้ายโครงการ (2) ช่วงที่ 1 ให้ความรู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม และการประเมินความเสี่ยงต่อการหกล้ม (3) ช่วงที่ 2 การวัดความดันและระดับน้ำตาลที่บ้านโดยผู้ป่วย และจดบันทึกผล ในผู้ป่วยกลุ่มที่ 3

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมความรู้ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ และประเมินภาวะเสี่ยงต่อการเกิดการหกล้มในผู้ป่วยโรคเรื้อรังในหมู่ที่ 2 3 5 ตำบลกันตังใต้ อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง ปี 2565 จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 65-L1460-01-006

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายวรรณกิจ สินอ่อน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด