กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลมะกรูด


“ โครงการสาธิตการจัดทำลูกประคบสมุนไพรเพื่อสุขภาพ ตำบลมะกรูด ”

ตำบลมะกรูด อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางสาวสุรัยณี เจ๊ะบือราเฮง

ชื่อโครงการ โครงการสาธิตการจัดทำลูกประคบสมุนไพรเพื่อสุขภาพ ตำบลมะกรูด

ที่อยู่ ตำบลมะกรูด อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 65 – L2985 – 01 - 06 เลขที่ข้อตกลง 6/2565

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2565 ถึง 31 สิงหาคม 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการสาธิตการจัดทำลูกประคบสมุนไพรเพื่อสุขภาพ ตำบลมะกรูด จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลมะกรูด อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลมะกรูด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการสาธิตการจัดทำลูกประคบสมุนไพรเพื่อสุขภาพ ตำบลมะกรูด



บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสมุนไพรไทย (2) เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการฝึกปฏิบัติการผลิตลูกประคบสมุนไพรและนำไปประยุกต์ใช้ (3) เพื่อส่งเสริมการใช้สมุนไพรให้เกิดประโยชน์ในการดูแลสุขภาพ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับสมุนไพร (2) กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการทำลูกประคบสมุนไพร

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เนื่องจากปัจจุบันวัยทำงานในช่วงอายุ 25 - 59 ปี ยังคงต้องทำงานหาเลี้ยงตนเองและครอบครัว เมื่อมีอายุมากขึ้นเรื่อย ๆ จึงเกิดอาการปวดเมื่อยตามร่างกายได้ง่ายกว่าบุคคลปกติ ทำให้วัยทำงานจำเป็นต้องรับประทานยาแก้ปวดและยาคลายกล้ามเนื้อเป็นประจำในปริมาณที่มากและเกิดอาการสะสมสารเคมีในร่างกายเพื่อต้องการบรรเทาอาการเจ็บปวด ซึ่งตามที่ทราบโดยทั่วไป คือ พวกยาแก้ปวดทั้งหลาย  หากรับประทานเข้าไปในปริมาณที่มาก อาจจะส่งผลทำให้ตับและไตทำงานหนักขึ้นและเกิดผลเสียต่อระบบต่างๆในร่างกาย อย่างไรก็ตามการที่ช่วยให้บรรเทาอาการปวดเมื่อยลดอาการอักเสบและการเกร็งของกล้ามเนื้อ กระตุ้นการไหลเวียนของโลหิตได้เป็นอย่างดีนั้น สามารถนำสมุนไพรที่มีอยู่ในพื้นที่มาแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ลูกระคบสมุนไพร เพื่อเป็นการรักษาอาการเบื้องต้นได้ระยะหนึ่งในการบำบัดรักษาโรคปวดเมื่อย
จากการสอบถามกลุ่มวัยทำงานอายุ 35 – 59 ปี ในตำบลมะกรูด อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี จำนวน 50 คน พบว่า มีกลุ่มวัยทำงาน จำนวน 28 คน ที่มีอาการปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ ปวดหลัง และปวดเข่า เนื่องจากการประกอบอาชีพ ได้แก่ อาชีพกรีดยาง ที่ต้องมีการก้มเก็บน้ำยาง การใช้แรงจากมือในการกรีดยาง, อาชีพทำนา ที่มีการก้มปักกล้า เก็บเกี่ยวรวงข้าว, อาชีพรับราชการ ที่มีการนั่งบนเก้าอี้เป็นเวลานาน เป็นต้น จากข้อมูลดังกล่าว แสดงให้เห็นว่ากลุ่มวัยทำงานมักมีปัญหาสุขภาพจากการทำงานต่างๆ ซึ่งส่งผลให้เกิดอาการปวดเมื่อย และรับประทานยาในการระงับอาการปวดดังกล่าว ดังนั้น งานสาธารณสุข สำนักปลัด เทศบาลตำบลมะกรูด เล็งเห็นถึงความสำคัญของปัญหาสุขภาพของวัยทำงานจึงจัดทำโครงการลูกประคบสมุนไพรเพื่อสุขภาพ ตำบลมะกรูดขึ้น เพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับคุณสมบัติของสมุนไพรต่างๆ  ที่เกิดประโยชน์ต่อสุขภาพ และการแปรรูปสมุนไพรโดยการนำมาทำเป็นลูกประคบ เพื่อบรรเทาอาการปวดเมื่อยจากการทำงาน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสมุนไพรไทย
  2. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการฝึกปฏิบัติการผลิตลูกประคบสมุนไพรและนำไปประยุกต์ใช้
  3. เพื่อส่งเสริมการใช้สมุนไพรให้เกิดประโยชน์ในการดูแลสุขภาพ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับสมุนไพร
  2. กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการทำลูกประคบสมุนไพร

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้ที่มีปัญหาด้านสุขภาพนำความรู้เรื่องสมุนไพรไปใช้ในการบรรเทาอาการปวด
  2. ผู้ที่เข้าอบรมสามารถนำความรู้ไปต่อยอดด้านสุขภาพได้
  3. ประชาชนมีสุขภาพอนามัยที่ดีขึ้น

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการทำลูกประคบสมุนไพร

วันที่ 22 กรกฎาคม 2565 เวลา 13:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการทำลูกประคบสมุนไพร 1. แบ่งกลุ่มฝึกปฏิบัติการทำลูกประคบสมุนไพร 2. ฝึกปฏิบัติการนวดลูกประคอบ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการทำลูกประคบสมุนไพร โดยแบ่งกลุ่มฝึกปฏิบัติการทำลูกประคบสมุนไพรเป็น 7 กลุ่ม และสาธิต/ฝึกปฏิบัติการนวดลูกประคอบสมุนไพร

 

50 0

2. กิจกรรมอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับสมุนไพร

วันที่ 22 กรกฎาคม 2565 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับสมุนไพร 1. บรรยายความรู้เรื่องสมุนไพรแต่ละชนิด 2. บรรยายความรู้เรื่องการส่งเสริมสุขภาพด้านแพทย์แผนไทย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กิจกรรมอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับสมุนไพร โดยการบรรยายความรู้ เรื่องสมุนไพรแต่ละชนิด สรรพคุณสมุนไพร วัสดุ/อุปกรณ์ที่ใช้ในการทำลูกประคบ สรรพคุณลูกประคบ วิธีการทำลูกประคบ วิธีการใช้/ขั้นตอนในการประคบ ข้อควรระวังการใช้ลูกประคบ และการรักษาด้านแพทย์แผนไทย โดยวิทยากรด้านแพทย์แผนไทย

 

50 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

  1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับสมุนไพร โดยการบรรยายความรู้ เรื่องสมุนไพรแต่ละชนิด สรรพคุณสมุนไพร วัสดุ/อุปกรณ์ที่ใช้ในการทำลูกประคบ สรรพคุณลูกประคบ วิธีการทำลูกประคบ วิธีการใช้/ขั้นตอนในการประคบ ข้อควรระวังการใช้ลูกประคบ และการรักษาด้านแพทย์แผนไทย โดยวิทยากรด้านแพทย์แผนไทย
    2.กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการทำลูกประคบสมุนไพร โดยแบ่งกลุ่มฝึกปฏิบัติการทำลูกประคบสมุนไพรเป็น 7 กลุ่ม และสาธิต/ฝึกปฏิบัติการนวดลูกประคอบสมุนไพร
    วันที่ดำเนินกิจกรรม : 22 กรกฎาคม 2565
    กลุ่มเป้าหมาย ; กลุ่มวัยทำงาน/แม่บ้าน ได้แก่ สมาชิกสภาเทศบาลตำบลมะกรูด พนักงานเทศบาลตำบลมะกรูด และกลุ่มแม่บ้าน ตำบลมะกรูด ทั้ง 7 หมู่บ้าน จำนวน 50 คน
    สถานที่ดำเนินการ : ห้องประชุมเทศบาลตำบลมะกรูด

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสมุนไพรไทย
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้เกี่ยวกับสมุนไพรไทย
80.00 94.00

 

2 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการฝึกปฏิบัติการผลิตลูกประคบสมุนไพรและนำไปประยุกต์ใช้
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของผู้เข้าร่วมโครงการฝึกปฏิบัติการทำลูกประคบสมุนไพร
80.00 100.00

 

3 เพื่อส่งเสริมการใช้สมุนไพรให้เกิดประโยชน์ในการดูแลสุขภาพ
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของผู้เข้าร่วมโครงการมีการใช้สมุนไพรในการดูแลสุขภาพ
80.00 80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสมุนไพรไทย (2) เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการฝึกปฏิบัติการผลิตลูกประคบสมุนไพรและนำไปประยุกต์ใช้ (3) เพื่อส่งเสริมการใช้สมุนไพรให้เกิดประโยชน์ในการดูแลสุขภาพ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับสมุนไพร (2) กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการทำลูกประคบสมุนไพร

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการสาธิตการจัดทำลูกประคบสมุนไพรเพื่อสุขภาพ ตำบลมะกรูด จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 65 – L2985 – 01 - 06

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวสุรัยณี เจ๊ะบือราเฮง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด