กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลมะกรูด


“ โครงการเฝ้าระวัง ป้องกัน และแก้ไขภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์ ”

ตำบลมะกรูด อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางสาวรอมละ บาราเฮง

ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวัง ป้องกัน และแก้ไขภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์

ที่อยู่ ตำบลมะกรูด อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 65 – L2985 – 01 - 08 เลขที่ข้อตกลง 8/2565

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2565 ถึง 31 ธันวาคม 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเฝ้าระวัง ป้องกัน และแก้ไขภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์ จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลมะกรูด อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลมะกรูด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวัง ป้องกัน และแก้ไขภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเฝ้าระวัง ป้องกัน และแก้ไขภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลมะกรูด อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 65 – L2985 – 01 - 08 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2565 - 31 ธันวาคม 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 21,300.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลมะกรูด เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กในหญิงตั้งครรภ์ เป็นปัญหาสำคัญทางสาธารณสุข ปัญหาหนึ่งที่พบในทุกภูมิภาคของประเทศโดยเกิดขึ้นต่อเนื่องจนถึงปัจจุบัน ซึ่งภาวะโลหิตจางเกิดจากหลายสาเหตุ ได้แก่ 1.ขาดธาตุเหล็ก  2.ขาดโพลิค 3.จากโรคเลือด เช่น ธาลัสซีเมีย 4.การเสียเลือดแบบเฉียบพลันและเรื้อรัง ได้แก่ การเกิดพยาธิปากข้อ ซึ่งสาเหตุที่พบบ่อยในหญิงตั้งครรภ์ คือ ภาวะโลหิตจางที่เกิดจากธาตุเหล็ก (อุษา และคณะ; อุ่นใจ และอนุภาค) ภาวะโลหิตจางมีผลกระทบต่อมารดาและทารกทำให้มารดามีอาการอ่อนเพลีย ไม่มีแรง เป็นลมบ่อย คลอดก่อนกำหนด ผลกระทบต่อทารก น้ำหนักตัวแรกคลอดน้อยกว่าอายุครรภ์ ภาวะทารกเจริญเติบโตช้าในครรภ์ ความผิดปกติของระดับสติปัญญาและพัฒนาการทารก เป็นต้น จากสถิติในปีงบประมาณ 2563 และ 2564 ของศูนย์สุขภาพชุมชนมะกรูด มีหญิงตั้งครรภ์มารับบริการ จำนวน.30 ต่อปี พบว่าหญิงตั้งครรภ์ที่มาฝากครรภ์มีภาวะโลหิตจางในปี 2563 จำนวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 20 และในปี 2564 จำนวน 8 คน คิดเป็นร้อยละ 26.67 ซึ่งเกณฑ์ตัวชี้วัดภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์ น้อยกว่าร้อยละ 10
ดังนั้น ศูนย์สุขภาพชุมชนมะกรูด ได้ตระหนักและเล็งเห็นถึงความสำคัญในด้านผลกระทบจากภาวะโลหิตจางที่มีต่อหญิงตั้งครรภ์และทารก จึงได้จัดโครงการ เฝ้าระวัง ป้องกัน และแก้ไขภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้เข้าอบรม มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์
  2. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ที่มารับบริการในหน่วยงาน PCU มะกรูด มีภาวะโลหิตจางลดลง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมจัดอบรมให้สุขศึกษา และสร้างความรอบรู้เกี่ยวกับเรื่องภาวะโลหิตจาง สื่อสารความเสี่ยงกับหญิงตั้งครรภ์ ร่วมวิเคราะห์ปัญหาเพื่อวางแผนแก้ไขปัญหาร่วมกัน
  2. กิจกรรมส่งเสริมอาหารที่มีประโยชน์ต่อหญิงตั้งครรภ์

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 30
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. หญิงตั้งครรภ์สามารถปฏิบัติตัวในขณะตั้งครรภ์ได้ถูกต้องและเหมาะสม
  2. มารดาและทารกมีสุขภาพแข็งแรง

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมจัดอบรมให้สุขศึกษา และสร้างความรอบรู้เกี่ยวกับเรื่องภาวะโลหิตจาง สื่อสารความเสี่ยงกับหญิงตั้งครรภ์ ร่วมวิเคราะห์ปัญหาเพื่อวางแผนแก้ไขปัญหาร่วมกัน

วันที่ 1 พฤษภาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

จัดอบรมให้สุขศึกษา และสร้างความรอบรู้เกี่ยวกับเรื่องภาวะโลหิตจาง สื่อสารความเสี่ยงกับหญิงตั้งครรภ์ ร่วมวิเคราะห์ปัญหาเพื่อวางแผนแก้ไขปัญหาร่วมกัน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ดำเนินการจัดกิจกรรมในวันพุธ ที่ 31 สิงหาคม 2565  ณ ห้องประชุมโพธิ์ทอง โรงพยาบาลโคกโพธิ์ โดยมีกิจกรรมให้ความรู้เรื่องภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์ ผลกระทบของภาวะโลหิตจางต่อแม่และลูก การป้องกันภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์ และประเภทของอาหารที่มีธาตุเหล็กสูงและตัวอย่างเมนูอาหารที่มีธาตุเหล็ก

 

30 0

2. กิจกรรมส่งเสริมอาหารที่มีประโยชน์ต่อหญิงตั้งครรภ์

วันที่ 1 พฤษภาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมส่งเสริมอาหารที่มีประโยชน์ต่อหญิงตั้งครรภ์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ส่งเสริมอาหารที่มีประโยชน์ต่อหญิงตั้งครรภ์ จำนวน 30 คน

 

30 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

1.1. หญิงตั้งครรภ์มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์เพิ่มขึ้นหลังจากได้รับความรู้ ร้อยละ 90
1.2. หญิงตั้งครรภ์ที่มารับบริการในหน่วยงาน PCU มะกรูด มีภาวะโลหิตจางลดลง ร้อยละ 80 ดำเนินการจัดกิจกรรมในวันพุธ ที่ 31 สิงหาคม 2565 ณ ห้องประชุมโพธิ์ทอง โรงพยาบาลโคกโพธิ์ โดยมีกิจกรรมให้ความรู้เรื่องภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์ ผลกระทบของภาวะโลหิตจางต่อแม่และลูก การป้องกันภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์ และประเภทของอาหารที่มีธาตุเหล็กสูงและตัวอย่างเมนูอาหารที่มีธาตุเหล็ก
จากการให้ความรู้ พบว่า ก่อนให้ความรู้ หญิงตั้งครรภ์ไม่มีความรู้ในบางเรื่อง ส่งผลให้หญิงตั้งครรภ์มีภาวะโลหิตจางมาก แต่หลังจากหญิงตั้งครรภ์ได้รับมีความรู้ พบว่า หญิงตั้งครรภ์ที่ความรู้เพิ่มขึ้น อีกทั้งหญิงตั้งครรภ์มีภาวะ  โลหิตจางลดลง หลังจากที่ได้รับไข่และความรู้เกี่ยวกับอาหาร

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้เข้าอบรม มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 ของผู้เข้าอบรม มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์
90.00 90.00

 

2 เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ที่มารับบริการในหน่วยงาน PCU มะกรูด มีภาวะโลหิตจางลดลง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของหญิงตั้งครรภ์ที่มารับบริการในหน่วยงาน PCU มะกรูด มีภาวะโลหิตจางลดลง
80.00 80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 30 30
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 30 30
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้เข้าอบรม มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์ (2) เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ที่มารับบริการในหน่วยงาน PCU มะกรูด มีภาวะโลหิตจางลดลง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมจัดอบรมให้สุขศึกษา และสร้างความรอบรู้เกี่ยวกับเรื่องภาวะโลหิตจาง สื่อสารความเสี่ยงกับหญิงตั้งครรภ์ ร่วมวิเคราะห์ปัญหาเพื่อวางแผนแก้ไขปัญหาร่วมกัน (2) กิจกรรมส่งเสริมอาหารที่มีประโยชน์ต่อหญิงตั้งครรภ์

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเฝ้าระวัง ป้องกัน และแก้ไขภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์ จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 65 – L2985 – 01 - 08

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวรอมละ บาราเฮง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด