กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แม่ลาน


“ โครงการหลักประกันสุขภาพนักเรียน โรงเรียนบ้านโคกเหรียง ”

ตำบลแม่ลาน อำเภอแม่ลาน จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางธันยชนก ไตรยะวงค์

ชื่อโครงการ โครงการหลักประกันสุขภาพนักเรียน โรงเรียนบ้านโคกเหรียง

ที่อยู่ ตำบลแม่ลาน อำเภอแม่ลาน จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 006/2565

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 พฤษภาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการหลักประกันสุขภาพนักเรียน โรงเรียนบ้านโคกเหรียง จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลแม่ลาน อำเภอแม่ลาน จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แม่ลาน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการหลักประกันสุขภาพนักเรียน โรงเรียนบ้านโคกเหรียง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการหลักประกันสุขภาพนักเรียน โรงเรียนบ้านโคกเหรียง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลแม่ลาน อำเภอแม่ลาน จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 พฤษภาคม 2565 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 39,460.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แม่ลาน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ตามที่รัฐบาลได้ประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินในทุกเขตท้องที่ทั่วราชอาณาจักร ในปีที่ผ่านมาตั้งแต่ 26 มีนาคม 2563 และตามมติคณะรัฐมนตรีได้ขยาย ประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินในทุกเขตท้องที่ทั่วราชอาณาจักร ออกไปถึง 30 กันยายน 2564 และในปี2564 เมื่อวันที่ 2 สิงหาคม 2564 เว็บไซต์ราชกิจจนุเบกษา เผยแพร่คำสั่งศูนย์บริหารสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19) ที่ 11/2564 เรื่อง พื้นที่สถานการณ์ที่กำหนดเป็นพื้นที่ควบคุมสูงสุดและเข้มงวด พื้นที่ควบคุมสูงสุด และพื้นที่ควบคุม ตามข้อกำหนดออกตามความในมาตรา 9 แห่งพระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. 2548 ประกาศระบุว่า ตามที่ได้มีการประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินในทุกเขตท้องที่ทั่วราชอาณาจักรตั้งแต่วันที่ 26 มีนาคม พ.ศ. 2563 และต่อมาได้ขยายระยะเวลาการบังคับใช้ประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินดังกล่าวออกไปเป็นคราวที่ 13 จนถึงวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2564 นั้น สถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อโควิด-19 ยังทวีความรุนแรงมากยิ่งขึ้นในหลายพื้นที่รวมทั้งพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ และปัจจุบันการระบาดของ โควิด-19 โดยเฉพาะสายพันธุ์โอมิครอน (Omicron) ซึ่งเป็นเรื่องที่น่ากังวล ฉะนั้นการดำเนินการตามมาตรการป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 อย่างเคร่งครัด จึงเป็นสิ่งที่จำเป็นอย่างยิ่ง   ดังนั้นเพื่อเป็นการร่วมมือหยุดการแพร่ระบาด เพิ่มประสิทธิภาพการดูแลรักษาเชิงรุกและการป้องกันไม่ให้เกิดผู้ติดเชื้อรายใหม่ ซึ่งมาจากการปฏิบัติตนไม่ถูกต้องของบุคคลทั่วไปและที่มีสุขภาพอ่อนแอ จึงต้องกำหนดมาตรการควบคุมป้องกัน ตามหลัก NewNormal และ DMHT อย่างเข้มงวดเพียงพอต่อการควบคุมโรคอย่างมีประสิทธิภาพ   ในการนี้เพื่อเป็นการดำเนินการในการเปิดการเรียนของโรงเรียนบ้านโคกเหรียง มีความจำเป็นทำพื้นที่ปลอดโควิด หรือ Covid free setting โดยจัดให้มีการอบรม ให้ความรู้ครูและบุคลากรทางการศึกษารวมถึงนักเรียนทุกคนให้มีความรู้ความเข้าใจในการปฏิบัติตนเพื่ออยู่ร่วมกันในสถานศึกษาอย่างปลอดภัย ประชาสัมพันธ์ให้ครูและนักเรียนรวมถึงผู้ปกครองฉีดวัคซีนป้องกัน covid ๑๙ ครบถ้วน มีการตรวจคัดกรองนักเรียนที่มาเรียน on site ด้วยชุดตรวจคัดกรอง ATK เพื่อเป็นการดำเนินการเชิงรุกในการป้องกัน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ครู นักเรียนและบุคลากร มีความเข้าใจ ลดความวิตกกังวลในการมาเรียนที่โรงเรียนและสามารถร่วมกิจกรรมต่างๆในโรงเรียนได้อย่างปลอดภัยภายใต้มาตรการควบคุมโรค
  2. เพื่อให้ครู นักเรียน และบุคลากรได้รับการเฝ้าระวัง คัดกรองเบื้องต้นด้วย ATK

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. หลักประกันสุขภาพนักเรียนโรงเรียนบ้านโคกเหรียง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 116
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ครู นักเรียนและบุคลากรในโรงเรียนมีความรู้ ความเข้าใจ ในการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19)
  2. ครู นักเรียนและบุคลากรในโรงเรียนได้รับการคัดกรองเบื้องต้นด้วย ATK ทุกคน

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. หลักประกันสุขภาพนักเรียนโรงเรียนบ้านโคกเหรียง

วันที่ 27 สิงหาคม 2565 เวลา 07:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. ขั้นตอนการวางแผน     - วางแผน กำหนดเป้าหมาย วัตถุประสงค์ จำนวนเป้าหมายเนื้อหาและรูปแบบวิธีดำเนินการ     - จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติ     - ติดต่อประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง     - จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ครุภัณฑ์ประกอบการดำเนินงานโครงการควบคุมเฝ้าระวังป้องกันโรคโควิด - 19
  2. จัดทำโครงการดเพื่อขออนุมัติต่อคณะกรรมการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลแม่ลาน
  3. ขั้นตอนการดำเนินงาน     - รณรงค์เรื่องการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ดำเนินการผลิตสื่อประชาสัมพันธ์เพื่อให้นักเรียนและบุคลากรรับรู้ข้อมูล สถานการณ์ผ่านช่องทางต่าง ๆ แจกเอกสารแผ่นพับ ฯลฯ     - สนับสนุนการดำเนินงานเฝ้าระวัง สอบสวนและควบคุมโรคติดเชื้อไววัสโคโรนา ตามแนวทางในการสอบสวนโรคและควบคุมโรค ของกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุขและกระทรวงศึกษาธิการ     - การจัดหาวัสดุอุปกรณ์ในการป้องกันโรคไวรัสโคโรนาให้กับนักเรียนและบุคลากร     - ตรวจคัดกรองและเฝ้าระวังโรคโควิด -19 ในโรงเรียนโดยคณะครูและบุคลากรของโรงเรียนรวมถึงผู้มาติดต่อราชการ     - ติดตามสถานการณ์ เฝ้าระวังสถานการณ์และประชาสัมพันธ์ให้ครูและนักเรียนทราบเป็นระยะ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จำนวนผู้เข้าร่วมกิจการ 118 คน คิดเป็นร้อยละ 100 ผลที่ได้รับ ดังนี้ 1. มีจัดกระบวนการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในโรงเรียนบ้านโคกเหรียง 2. มีการตรวจคัดกรองและเฝ้าระวังโรคโควิด 19  เพื่อเฝ้าระวังและควบคุมการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโควิด 19 ให้กับนักเรียนและบุคลากรโรงเรียนบ้านโคกเหรียง 3. นักเรียน ผู้ปกครอง บุคลากรมีความพร้อมในการเผชิญกับการแพร่ระบาดของโรคไวรัสโคโรนา 2019 4. นักเรียนและบุคลากรมีความรู้ความเข้าใจและความตระหนักในการดูแลตนเองสามารถป้องกันตนเองจากโรคติดต่อได้ 5. ไม่มีการแพร่ระบาดของโรคภายในโรงเรียนบ้านโคกเหรียงสู่ชุมชน

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ครู นักเรียนและบุคลากร มีความเข้าใจ ลดความวิตกกังวลในการมาเรียนที่โรงเรียนและสามารถร่วมกิจกรรมต่างๆในโรงเรียนได้อย่างปลอดภัยภายใต้มาตรการควบคุมโรค
ตัวชี้วัด : ครู นักเรียนและบุคลากร ร้อยละ 90 มีความรู้ ความเข้าใจ ในการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19)
0.00

 

2 เพื่อให้ครู นักเรียน และบุคลากรได้รับการเฝ้าระวัง คัดกรองเบื้องต้นด้วย ATK
ตัวชี้วัด : ครู นักเรียน และบุคลากร ร้อยละ 100 ได้รับการคัดกรองเบื้องต้นด้วย ATK
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 116
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 116
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ครู นักเรียนและบุคลากร มีความเข้าใจ ลดความวิตกกังวลในการมาเรียนที่โรงเรียนและสามารถร่วมกิจกรรมต่างๆในโรงเรียนได้อย่างปลอดภัยภายใต้มาตรการควบคุมโรค (2) เพื่อให้ครู นักเรียน และบุคลากรได้รับการเฝ้าระวัง คัดกรองเบื้องต้นด้วย ATK

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) หลักประกันสุขภาพนักเรียนโรงเรียนบ้านโคกเหรียง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการหลักประกันสุขภาพนักเรียน โรงเรียนบ้านโคกเหรียง จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางธันยชนก ไตรยะวงค์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด