กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตใหม่ในยุค COVID-19
รหัสโครงการ
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านคลองทราย
วันที่อนุมัติ 28 เมษายน 2565
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 พฤษภาคม 2565 - 30 กันยายน 2565
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 10,520.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายสุวิทย์ สุวรรณรัตน์
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลแม่ลาน อำเภอแม่ลาน จังหวัดปัตตานี
ละติจูด-ลองจิจูด 6.647,101.231place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานป้องกัน แก้ปัญหา และฟื้นฟู ในสถานการณ์โควิด-19
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

จากสถานการณ์การระบาดของโรคเชื้อไวรัสโคโรนา2019 (COVID-19)ซึ่งมีการประกาศกระทรวงสาธารณสุขให้โรคเชื้อไวรัสโคโรนา2019 (COVID-19)เป็นโรคร้ายแรง ทำให้ประชาชนทั่วโลกและคนไทยเกิดการตื่นตระหนก โดยการ ระบาดพบทั่วไปในหลายประเทศทำให้มีผู้เสียชีวิตจำนวนมาก ส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจสังคมอย่างรุนแรง และสถานการณ์การระบาดกำลังแพร่กระจายโดยยังไม่สามารถควบคุมได้ อาการของโรคส่วนใหญ่เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 จะ ทำให้เกิดอาการมีข้สูง ไอ จาม มีการอักเสบของปอดและเยื้อหุ้มปอดอย่างรุนแรง แต่อย่างไรก็ตามอัตราการตายไม่ได้สูงมากนักเพียง 1-3% ร้ายแรงน้อยกว่าโรค SAR ซึ่งมีอัตราการตาย 10 %   มาตรการการป้องกันไม่ให้ติดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 นั้นถือว่าจำเป็น ด้วยการดำเนินการรักษาร่างกายให้ปลอดภัยจากการติดเชื้อ การล้างมืให้สะอาดอย่างถูกต้อง ทั้งด้วยแอลกอฮอล์เจล สบู่ การสวมหน้ากากอนามัยอย่างถูกวิธี การไม่นำเอามือมาป้ายหรือจับหน้า และการมีความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับดรคก็เป็นสิ่งสำคัญ

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อเสริมสร้างความตระหนักแก่ประชาชนเกี่ยวกับโรคและการป้องกันโรคเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19)

ประชาชน ร้อยละ 90 เกิดความตระหนักเกี่ยวกับโรคและการป้องกันโรคเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19)

0.00
2 ให้ประชาชนมีความเข้าใจในวิธีคิด วิธีเรียนรู้ วิธีสื่อสาร วิธีปฏิบัติและการจัดการการใช้ชีวิตรูปแบบใหม่

ประชาชน ร้อยละ 90 มีความเข้าใจในวิธีคิด วิธีเรียนรู้ วิธีสื่อสาร วิธีปฏิบัติและการจัดการการใช้ชีวิตรูปแบบใหม่

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. ประชาชนเกิดความตระหนักแก่ประชาชนเกี่ยวกับโรคและการป้องกันโรคเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19)
  2. ประชาชนมีความเข้าใจในวิธีคิด วิธีเรียนรู้ วิธีสื่อสาร วิธีปฏิบัติและกสรจัดการใช้ชีวิตรูปแบบใหม่ เพื่อป้องกันโรคเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19)
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 5 พ.ค. 2565 10:54 น.