โครงการป้องกันเอดส์ และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการป้องกันเอดส์ และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ”
ตำบลทุ่งตำเสา อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางนินราหม๊ะ หมัดอาดัม
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองทุ่งตำเสา
กันยายน 2565
ชื่อโครงการ โครงการป้องกันเอดส์ และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
ที่อยู่ ตำบลทุ่งตำเสา อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ ปี2565-L5275-01- เลขที่ข้อตกลง 16/2565
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2565
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการป้องกันเอดส์ และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทุ่งตำเสา อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองทุ่งตำเสา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันเอดส์ และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการป้องกันเอดส์ และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทุ่งตำเสา อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ ปี2565-L5275-01- ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2565 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 29,990.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองทุ่งตำเสา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
จากสถานการณ์ปัจจุบัน โรคเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ยังเป็นปัญหาสำคัญระดับชาติที่หน่วยงานและทุกภาคส่วนต้องระดมความร่วมมือเพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาอย่างจริงจัง จากข้อมูลสำนักระบาดวิทยา พบว่าเยาวชนมีแนวโน้มอัตราป่วยโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์เพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะโรคหนองใน ทำให้มีโอกาสติดเชื้อเอชไอวี มากขึ้นกว่าคนปกติ 3-9 เท่า ซึ่งเป็นผลมาจากการมีพฤติกรรมที่ไม่ปลอดภัยดดยพบว่าอัตราการใช้ถุงยางอนามัยเมื่อมีเพศสัมพันธ์ในรอบปีที่ผ่านมา ยังตำอยู่ เพียงร้อยละ 46.9 เท่านั้น ผลกระทบประการสำคะัญที่เกิดจากพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศของวัยรุ่น นอกจากติดโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์และเอดส์ คือการตั้งครรภ์ การคลอดบุตร ของแม่วัยรุ่นในประเทศไทย ปี 2564 พบว่า มีวัยรุ่นต่ำกว่าอายุ20ปี ที่มาคลอดบุตรรวม 104,289 คน เท่ากับว่าในแต่ละวันมีเด็กที่เกิดจากแม่วัยรุ่นถึง286 คน
สอดคล้องกับการดำเนินงานอนามัยแม่และเด็กของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุ่งตำเสา มีอัตราการการคลอดบุตรอายุน้อยกว่า 20 ปี มีแนวโน้มสูงขึ้นเรื่อยๆ ส่วนหนึ่งเกิดมาจากมีความเข้าใจผิดเกี่ยวกับการร่วมเพศ คิดว่าการร่วมเพศครั้งเียวแล้วไม่ตั้งครรภ์ การใช้ถุงยางอนามัยจะขัดขวางความรู้สึกทางเพศโดยร้อยละ 80 เป็นการตั้งครรภ์ไม่พร้อม ทำให้วัยรุ่นตัดสินใจยุติการตั้งครรภ์ติดเชื้อเอชไอวีเพิ่มขึ้นด้วย
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุ่งตำเสา ได้ตระหนักถึงปัญหาการมีพฤติกรรมเสี่ยงการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร การระบาดของโรคเอดส์ในเด็กและเยาวชนซึ่งเป็นกลุ่มประชากรที่เป็นกำลังสำคัญในการพัฒนาประเทศ เพื่อให้การดำเนินงานการสร้างความเข้มแข็งในการดำเนินงานเพื่อการป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงการมีเพศสัมพันธ์ และโรคเอดส์ในเด็กและเยาวชนจึงได้จัดโครงการป้องกันโรคเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์แก่เยาวชน และประชาชนกลุ่มเสี่ยง ให้มีความรู้ความเข้าใจ ทักษะในการป้องกันตนเอง และพฤติกรรมที่ปลอดภัยจากเอดส์ตลอดจนการสร้างค่านิยมในการมีเพสสัมพันธ์ที่รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1.เพื่อส่งเสริมให้เยาวชน และประชากรกลุ่มเสี่ยงมีความรู้และทักษะของการการป้องกันโดรคเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
- 2.เพื่อสร้างเครือข่ายแกนนำเยาวชนในชุมชน
- 3.เพื่อให้เกิดกิจกรรมด้านการป้องกันโรคเอดส์ในชุมชน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
60
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.เยาวชนและประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีความรู้สามารถป้องกันโรคเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ได้
2.มีเครือข่ายแกนนำเยาวชน และประชาชนกลุ่มเสี่ยง ในการป้องกันโรคเอดส์ในชุมชน
3.มีการดำเนินกาโรคเอดส์ในชุมชน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1.เพื่อส่งเสริมให้เยาวชน และประชากรกลุ่มเสี่ยงมีความรู้และทักษะของการการป้องกันโดรคเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละ 80 ของเยาวชน และประชากรกลุ่มเสี่ยง มีความรู้อยู่ในระดับดี
0.00
2
2.เพื่อสร้างเครือข่ายแกนนำเยาวชนในชุมชน
ตัวชี้วัด : 2.มีการจัดตั้งชมรมและการดำเนินงานด้านเอดส์ 1 ชมรม
0.00
3
3.เพื่อให้เกิดกิจกรรมด้านการป้องกันโรคเอดส์ในชุมชน
ตัวชี้วัด : 3.มีกิจกรรมป้องกันโรคเอดส์ และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธือย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
60
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
60
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อส่งเสริมให้เยาวชน และประชากรกลุ่มเสี่ยงมีความรู้และทักษะของการการป้องกันโดรคเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ (2) 2.เพื่อสร้างเครือข่ายแกนนำเยาวชนในชุมชน (3) 3.เพื่อให้เกิดกิจกรรมด้านการป้องกันโรคเอดส์ในชุมชน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการป้องกันเอดส์ และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ ปี2565-L5275-01-
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางนินราหม๊ะ หมัดอาดัม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการป้องกันเอดส์ และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ”
ตำบลทุ่งตำเสา อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางนินราหม๊ะ หมัดอาดัม
กันยายน 2565
ที่อยู่ ตำบลทุ่งตำเสา อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ ปี2565-L5275-01- เลขที่ข้อตกลง 16/2565
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2565
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการป้องกันเอดส์ และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทุ่งตำเสา อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองทุ่งตำเสา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันเอดส์ และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการป้องกันเอดส์ และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทุ่งตำเสา อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ ปี2565-L5275-01- ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2565 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 29,990.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองทุ่งตำเสา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
จากสถานการณ์ปัจจุบัน โรคเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ยังเป็นปัญหาสำคัญระดับชาติที่หน่วยงานและทุกภาคส่วนต้องระดมความร่วมมือเพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาอย่างจริงจัง จากข้อมูลสำนักระบาดวิทยา พบว่าเยาวชนมีแนวโน้มอัตราป่วยโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์เพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะโรคหนองใน ทำให้มีโอกาสติดเชื้อเอชไอวี มากขึ้นกว่าคนปกติ 3-9 เท่า ซึ่งเป็นผลมาจากการมีพฤติกรรมที่ไม่ปลอดภัยดดยพบว่าอัตราการใช้ถุงยางอนามัยเมื่อมีเพศสัมพันธ์ในรอบปีที่ผ่านมา ยังตำอยู่ เพียงร้อยละ 46.9 เท่านั้น ผลกระทบประการสำคะัญที่เกิดจากพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศของวัยรุ่น นอกจากติดโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์และเอดส์ คือการตั้งครรภ์ การคลอดบุตร ของแม่วัยรุ่นในประเทศไทย ปี 2564 พบว่า มีวัยรุ่นต่ำกว่าอายุ20ปี ที่มาคลอดบุตรรวม 104,289 คน เท่ากับว่าในแต่ละวันมีเด็กที่เกิดจากแม่วัยรุ่นถึง286 คน สอดคล้องกับการดำเนินงานอนามัยแม่และเด็กของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุ่งตำเสา มีอัตราการการคลอดบุตรอายุน้อยกว่า 20 ปี มีแนวโน้มสูงขึ้นเรื่อยๆ ส่วนหนึ่งเกิดมาจากมีความเข้าใจผิดเกี่ยวกับการร่วมเพศ คิดว่าการร่วมเพศครั้งเียวแล้วไม่ตั้งครรภ์ การใช้ถุงยางอนามัยจะขัดขวางความรู้สึกทางเพศโดยร้อยละ 80 เป็นการตั้งครรภ์ไม่พร้อม ทำให้วัยรุ่นตัดสินใจยุติการตั้งครรภ์ติดเชื้อเอชไอวีเพิ่มขึ้นด้วย โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุ่งตำเสา ได้ตระหนักถึงปัญหาการมีพฤติกรรมเสี่ยงการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร การระบาดของโรคเอดส์ในเด็กและเยาวชนซึ่งเป็นกลุ่มประชากรที่เป็นกำลังสำคัญในการพัฒนาประเทศ เพื่อให้การดำเนินงานการสร้างความเข้มแข็งในการดำเนินงานเพื่อการป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงการมีเพศสัมพันธ์ และโรคเอดส์ในเด็กและเยาวชนจึงได้จัดโครงการป้องกันโรคเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์แก่เยาวชน และประชาชนกลุ่มเสี่ยง ให้มีความรู้ความเข้าใจ ทักษะในการป้องกันตนเอง และพฤติกรรมที่ปลอดภัยจากเอดส์ตลอดจนการสร้างค่านิยมในการมีเพสสัมพันธ์ที่รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1.เพื่อส่งเสริมให้เยาวชน และประชากรกลุ่มเสี่ยงมีความรู้และทักษะของการการป้องกันโดรคเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
- 2.เพื่อสร้างเครือข่ายแกนนำเยาวชนในชุมชน
- 3.เพื่อให้เกิดกิจกรรมด้านการป้องกันโรคเอดส์ในชุมชน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 60 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.เยาวชนและประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีความรู้สามารถป้องกันโรคเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ได้ 2.มีเครือข่ายแกนนำเยาวชน และประชาชนกลุ่มเสี่ยง ในการป้องกันโรคเอดส์ในชุมชน 3.มีการดำเนินกาโรคเอดส์ในชุมชน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1.เพื่อส่งเสริมให้เยาวชน และประชากรกลุ่มเสี่ยงมีความรู้และทักษะของการการป้องกันโดรคเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละ 80 ของเยาวชน และประชากรกลุ่มเสี่ยง มีความรู้อยู่ในระดับดี |
0.00 |
|
||
2 | 2.เพื่อสร้างเครือข่ายแกนนำเยาวชนในชุมชน ตัวชี้วัด : 2.มีการจัดตั้งชมรมและการดำเนินงานด้านเอดส์ 1 ชมรม |
0.00 |
|
||
3 | 3.เพื่อให้เกิดกิจกรรมด้านการป้องกันโรคเอดส์ในชุมชน ตัวชี้วัด : 3.มีกิจกรรมป้องกันโรคเอดส์ และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธือย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 60 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 60 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อส่งเสริมให้เยาวชน และประชากรกลุ่มเสี่ยงมีความรู้และทักษะของการการป้องกันโดรคเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ (2) 2.เพื่อสร้างเครือข่ายแกนนำเยาวชนในชุมชน (3) 3.เพื่อให้เกิดกิจกรรมด้านการป้องกันโรคเอดส์ในชุมชน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการป้องกันเอดส์ และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ ปี2565-L5275-01-
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางนินราหม๊ะ หมัดอาดัม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......