กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูง ในกลุ่มเสี่ยงชุมชนหมู่ที่ 1 บ้านหัวควน ”
ตำบลท่าเรือ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี



หัวหน้าโครงการ
นางสาวสูไบดะห์ มะและ




ชื่อโครงการ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูง ในกลุ่มเสี่ยงชุมชนหมู่ที่ 1 บ้านหัวควน

ที่อยู่ ตำบลท่าเรือ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 65-L2978-2-3 เลขที่ข้อตกลง 04

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2565 ถึง 12 พฤษภาคม 2565

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูง ในกลุ่มเสี่ยงชุมชนหมู่ที่ 1 บ้านหัวควน จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่าเรือ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล องค์การบริหารส่วนตำบลท่าเรือ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูง ในกลุ่มเสี่ยงชุมชนหมู่ที่ 1 บ้านหัวควน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูง ในกลุ่มเสี่ยงชุมชนหมู่ที่ 1 บ้านหัวควน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่าเรือ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 65-L2978-2-3 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2565 - 12 พฤษภาคม 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 3,000.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล องค์การบริหารส่วนตำบลท่าเรือ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

หลักการและเหตุผล โรคไม่ติดต่อเรื่อรัง เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศ และมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง เป็นโรคเรื้อรัง ซึ่งถือว่าเป็นภัยเงียบที่ไม่แสดงอาการแต่ครวจพบได้ เป็นโรคที่เกิดขึ้นจากพันธุกรรม พฤติกรรมการรับประทานอาหาร การปฏิบัติตนไม่เหมาะสม เช่น ไม่ออกกำลังกาย สูบบุหรี่ ดื่มกาแฟ เป็นต้น พบจำนวนผู้ป่วยเพิ่มขึ้นได้ในทุกชุมชน โดยเฉพาะโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิคสูง เป็นปัญหาสุขภาพที่สำคัญในชุมชน จากสถานการณ์ข้อมูลผู้ป่วยด้วยโรคเรื้อรัง พบความซุกเบาหวานในประชากรอายุ ๑* ปีขึ้นไป ร้อยละ ๖.๙ และประซากรอายุ ๓๕ ปีขึ้นไป ร้อยละ ๙.๖ และความซุกของโรคความดันโลหิดสูงในประชากร ๓๕ ปีขึ้นไป ร้อยละ ๒๑.๔ ทั้งยังเป็นสาเหตุที่ทำให้ประเทศไทยเสียคำใช้จำยอย่างมหาศาลในการดูแลรักษาและมักเกิดภาวะแทรกซ้อนที่ตามมาอันได้แก่ โรคหัวใจ ไควาย ตาบอด หลอดเลือดหัวใจตามมาความเจ็บปัวยเหล่านี้ส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิดของผู้ป่วยตลอดจบค่ใช้จ่ายด้านสาธารณสุขโดยรวมองค์การอนามัยโลก(WHO) กล่าวว่นอกจากการบริการทางคลินิกแล้ว การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพมีความสำคัญและจำเป็นในการแก้ไขปัญหาโรคไติตต่อตังกล่าว ซึ่งการบริการสุขภาพภายได้ระบบหลักประกันสุขภาพด้วนหน้า ส่งผลให้ประชาชนส่วนใหญ่สามารถเข้าถึงบริการ ขั้นพื้นฐานที่จำเป็น รวมทั้งการบริการสุขภาพเพื่อป้องกันและควบคุมโรคเป็นสำคัญ โดยเฉพาะโรคความ คันโลหิคสูงโรคมาหวาน ๑๒๐,๑๒๗ และ ㆍลอ คน อัตรา ๔๖๘๔ , ๕.๙·อ และ ๕,ด๐๒ ต่อแสน ประชากรตามลำดับ ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงจำนวน ๒๒๔.a40 และ ๓๒๘ คน ฮัตราดอ,๔ะ๔. , ㆍ๔.ส2๗ และ ㆍ๒,๘ฟ๕ ต่อแสนประชากรตามลำดับ ซึ่งพบว่าแนวโน้มการเกิดโรคเพิ่มมากขึ้นทุกปี จากสถานการณ์ชัอมูลการคัคกรองโรคความดันโตหิตสูงในประชากรกลุ่มเสียงอายุ ๓4 ปีขึ้นไปในจังหวัดปัคคานึ ตั้งแต่ปิงบประมาณ ๒๕๖๑ - ๒๕๖๓ พบว่า อัตราการคัดกรองโรคความคันโถหิตสูง ร้อยละ ๙๙.๘๒ , ๙๓.๔๕ และ ๙๔.๘๒ คามลำดับอยู่ในกลุ่มปกติ ร้อยถะ ๗๓.๖๑ , ๗๓.๔๕ แถะ ๘๘.๑๐ คามสำคับ อยู่ในกลุ่มเสี่ยง ร้อยละ ๒๐.๙๙ , ๒๑.๑๕ และ ๖.๖๓ คามลำดับกลุ่มสงสัยป่วย ร้อยละ ๕.๑๐ , ๔.๙๒ และ ๔.๗๓ ตามลำดับ คามปัญหางกล่าวจึงเถึงเห็นความสำคัญ พเชิงรุกการเข้าถึงชุมชน จึงได้จัดทำโกรงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลดเสี่ยง ลดโรคเบาหวาน ความดันโลหิตจัดกิจกรรมบูรณาการงานสร้างเสริมสุขภาพการคัดกรองความ เสี่ยงโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง การให้คำแนะนำด้านสุขภาพ เพื่อค้นหาความเสี่ยงต่อการเกิด โรคเบาหวานแถะความดันโถหิตสูง การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพเป็นกา การดูแล สุขภาพตั้งแต่ระยะเริ่มแรก และการป้องกันการเกิดโรคในกลุ่มเสี่ยงที่มีโอกาสเจ็บป่วยด้วยโรคอันจะทำให้ลดอัตราการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรังเพิ่มได้ในระยะยาว ผลจากการตรวจคัคกรองโรคเบาหวานและความตันโถหิตสูง ในกลุ่มประชากรอายุ ๓๕ ปีขึ้นไปในเซครับผิดชอบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่าเรือ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี ในปีงบประมาณ ๒๕๖๕ จำนวน ๓๙๗ ราย ครวจพบประชากรกลุ่มเสี่ยงต่อการป่วยเป็นโรคเบาหวาน จำนวน ๑4 ราย และความดันโลหิตสูง ๒. ราย คิดเป็นร้อยละ ๓.๔ และ ๕.๓ ตามลำดับ ต่อประชากรอายุ ๓๕ ปีขึ้นไป ซึ่งสมควรจัดทำโครงการหลัก ๓ อ, ๒ ส. ๓ อ. ได้แก่ ๑. อาหาร ๒. ออกกำลังกายอารมณ์ และ ๒ ส. ได้แก่ ๑.ไม่ดื่มสุรา ๒.ไม่สูบบุหรี่ โดยให้ปรับพฤติกรรมการกินอาหารให้เหมาะกับความต้อง ใช้พลังงาน ลด หวาน มัน เค็ม แป้ง และน้ำตาล เพิ่มผักผลไม้ที่มีรสไม่หวานให้มากขึ้น ออกกำลังกายอย่างน้อยวันละ ๓0 นาที และไม่น้อยกว่า๙ วันต่อสัปดาห์ และทำอารมณ์ให้แจ่มใส ข่มใจไม่ให้กินมากเกินความจำเป็นของร่างกาย

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อให้ประชากรกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง 2. เพื่อสตลัตราป่วยโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงรายใหม่

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 35
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1.ประชากรกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงมีความรู้และทักษะในการดูแลคนเองครอบครัวและชุมชนได้ 2.ประชากรกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน/ความดันโลหิคสูงและกลุ่มแกนนำ อสม.ในหมู่บ้านหัวควนสามารถแลกเปลี่ยน ประสบการณ์การดูแลตนเองได้


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1.เพื่อให้ประชากรกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง 2. เพื่อสตลัตราป่วยโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงรายใหม่
    ตัวชี้วัด : 1.ประชาชนกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มแกนนำได้รับการ โรคเบาหวานและกลุ่มแกนนำ อสม.ในหมู่บ้านหัวควนมีความ ตรวจสุขภาพ ร้อยละ ๑๐๐ รอบรู้ด้านสุขภาทในการดูแลคนเองได้อย่างถูกต้อง 2.กลุ่มเสี่ยงมีค่าน้ำตาลและค่าความดันโถหิตลดลงร้อยละ 30
    0.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 35
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 35
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้ประชากรกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง
    2. เพื่อสตลัตราป่วยโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงรายใหม่

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูง ในกลุ่มเสี่ยงชุมชนหมู่ที่ 1 บ้านหัวควน จังหวัด ปัตตานี

    รหัสโครงการ 65-L2978-2-3

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสาวสูไบดะห์ มะและ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด