กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จวบ


“ โครงการป้องกันโรคไข้เลือดออกในโรงเรียนและชุมชน ตำบลจวบ อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส ปีงบประมาณ 2565 ”

ตำบลจวบ อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นายอาแพนดี สามะ

ชื่อโครงการ โครงการป้องกันโรคไข้เลือดออกในโรงเรียนและชุมชน ตำบลจวบ อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส ปีงบประมาณ 2565

ที่อยู่ ตำบลจวบ อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 65-L8422-01-07 เลขที่ข้อตกลง 65-L8422-01-07

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 16 พฤษภาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการป้องกันโรคไข้เลือดออกในโรงเรียนและชุมชน ตำบลจวบ อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส ปีงบประมาณ 2565 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลจวบ อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จวบ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันโรคไข้เลือดออกในโรงเรียนและชุมชน ตำบลจวบ อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส ปีงบประมาณ 2565



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการป้องกันโรคไข้เลือดออกในโรงเรียนและชุมชน ตำบลจวบ อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส ปีงบประมาณ 2565 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลจวบ อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 65-L8422-01-07 ระยะเวลาการดำเนินงาน 16 พฤษภาคม 2565 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 77,780.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จวบ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ในปัจจุบัน โรคติดต่อที่สำคัญหลายโรคที่เกิดอันตรายต่อมนุษย์ มีความรุนแรงเพิ่มขึ้น ได้มีผลกระทบต่อมวลมนุษย์ทั้งทางด้านสังคม เศรษฐกิจและการเมือง โดยโรคติดต่อที่เป็นปัญหาในพื้นที่มีทั้งโรคติดต่อที่นำโดยแมลง โรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน เช่น โรคไข้เลือดออกโรคติดเชื้อไวรัสซิกา โรคไข้ปวดข้อยุงลาย โรคมือเท้าปาก และโรคหัด เป็นต้นซึ่งยังเป็นปัญหาที่ต้องเฝ้าระวังและควบคุมโรคอย่างต่อเนื่อง
เพื่อให้การดำเนินงานควบคุมป้องกันโรคเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ จึงจำเป็นที่จะต้องให้ประชาชนในพื้นที่ ได้รับทราบข้อมูล ความรู้เกี่ยวกับโรค การดูแลและป้องกันตนเอง รวมทั้งเจ้าหน้าที่สาธารณสุขจะต้องมีการพัฒนาความรู้เพื่อสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการควบคุมโรคติดต่อ โรงพยาบาลเจาะไอร้อง ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการป้องกันเฝ้าระวัง ควบคุมโรคติดต่อในพื้นที่ ตำบลจวบ อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส ปีงบประมาณ 2565 เพื่อไม่ให้เกิดการแพร่ระบาดของโรคที่เป็นปัญหาของชุมชน ประชาชนเจ็บป่วยด้วยโรคและภัยสุขภาพลดลง และให้ชุมชน ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมจึงได้จัดทำโครงการการป้องกัน เฝ้าระวัง ควบคุมโรคติดต่อและโรคที่เป็นปัญหาในพื้นที่ตำบลจวบ อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส ปีงบประมาณ 2565 ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ 2. เพื่อสร้างภาคีเครือข่ายในการป้องกัน เฝ้าระวังและควบคุมโรคติดต่ออย่างต่อเนื่อง 3. เพื่อพัฒนาศักยภาพ ทักษะส่วนบุคคลและชุมชนให้เกิดความพร้อมในการเฝ้าระวังและควบคุมป้องกันโรค

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้เชิงปฏิบัติการเจ้าหน้าที่อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านในการควบคุมโรคไข้เลือดออกและการพ่นหมอกควัน
  2. กิจกรรมสำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลายและพ่นหมอกควันกำจัดยุงตัวแก่ในโรงเรียนและชุมชน
  3. รณรงค์ป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ตำบลจวบ อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส
  4. กิจกรรมให้ความรู้โรคไข้เลือดออกในโรงเรียน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ ในการป้องกันโรคไข้เลือดออกมากขึ้น
  2. เจ้าหน้าที่อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน(อปพร.)และอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านมีทักษะในการพ่นหมอกควัน
  3. ชุมชนมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพ ลดภาวะเสี่ยงต่อการเกิดโรค ร่วมป้องกัน ควบคุมโรคติดต่อที่สำคัญอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้เชิงปฏิบัติการเจ้าหน้าที่อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านในการควบคุมโรคไข้เลือดออกและการพ่นหมอกควัน

วันที่ 10 พฤษภาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  • ค่าอาหารกลางวันจำนวน 100คนๆละ 1 มื้อๆ 50บาท เป็นเงิน 5,000.-บาท
  • ค่าอาหารว่างจำนวน 100คนๆละ 2มื้อๆ 25บาท เป็นเงิน 5,000.-บาท
  • ค่าวิทยากรชั่วโมงละ 600บาท จำนวน 6 ชั่วโมง เป็นเงิน 3,600.-บาท
  • รวมทั้งสิ้น 13,600 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ ในการป้องกันโรคไข้เลือดออกมากขึ้น
  • เจ้าหน้าที่อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน(อปพร.)และอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านมีทักษะในการพ่นหมอกควัน
  • ชุมชนมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพ ลดภาวะเสี่ยงต่อการเกิดโรค ร่วมป้องกัน ควบคุมโรคติดต่อที่สำคัญอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ

 

0 0

2. รณรงค์ป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ตำบลจวบ อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส

วันที่ 10 พฤษภาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ค่าป้ายไวนิลประชาสัมพันธ์ ขนาด1.2 x 2.4 เมตร จำนวน 9 ป้ายๆละ 720บาท เป็นเงิน 6,480.-บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ ในการป้องกันโรคไข้เลือดออกมากขึ้น
  • เจ้าหน้าที่อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน(อปพร.)และอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านมีทักษะในการพ่นหมอกควัน
  • ชุมชนมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพ ลดภาวะเสี่ยงต่อการเกิดโรค ร่วมป้องกัน ควบคุมโรคติดต่อที่สำคัญอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ

 

0 0

3. กิจกรรมสำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลายและพ่นหมอกควันกำจัดยุงตัวแก่ในโรงเรียนและชุมชน

วันที่ 10 พฤษภาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  • ค่าจัดซื้อทรายกำจัดลูกน้ำยุงลาย จำนวน 2 ถังๆละ 5,200บาท เป็นเงิน 10,400.-บาท
  • ค่าสเปรย์กำจัดแมลง จำนวน 6 ลังๆละ 800บาท เป็นเงิน 4,800.-บาท
  • ค่าโลชั่นทากันยุง จำนวน 3 ลังๆละ 3,000บาท เป็นเงิน 9,000.-บาท
  • ค่าน้ำยาเคมีกำจัดยุงลาย จำนวน 5 ขวดๆละ 500บาท เป็นเงิน 2,500.-บาท
  • น้ำมันเชื้อเพลิง (น้ำมันดีเซล,น้ำมันเบนซิน) เป็นเงิน 15,000.-บาท
  • ค่าตอบแทนพ่นหมอกควัน ครั้งละ 200 บาท จำนวน 30คน เป็นเงิน 6,000.-บาท
  • รวมทั้งสิ้น 47,700 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ ในการป้องกันโรคไข้เลือดออกมากขึ้น
  • เจ้าหน้าที่อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน(อปพร.)และอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านมีทักษะในการพ่นหมอกควัน
  • ชุมชนมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพ ลดภาวะเสี่ยงต่อการเกิดโรค ร่วมป้องกัน ควบคุมโรคติดต่อที่สำคัญอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ

 

0 0

4. กิจกรรมให้ความรู้โรคไข้เลือดออกในโรงเรียน

วันที่ 10 พฤษภาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  • ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 100คนๆละ 1มื้อๆละ 50บาท เป็นเงิน 5,000.-บาท
  • ค่าอาหารว่าง จำนวน 100คนๆละ 2มื้อๆละ 25บาท เป็นเงิน 5,000.-บาท
  • รวมทั้งสิ้น 10,000.-บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ ในการป้องกันโรคไข้เลือดออกมากขึ้น
  • เจ้าหน้าที่อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน(อปพร.)และอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านมีทักษะในการพ่นหมอกควัน
  • ชุมชนมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพ ลดภาวะเสี่ยงต่อการเกิดโรค ร่วมป้องกัน ควบคุมโรคติดต่อที่สำคัญอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

  • ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ ในการป้องกันโรคไข้เลือดออกมากขึ้น
  • เจ้าหน้าที่อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน(อปพร.)และอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านมีทักษะในการพ่นหมอกควัน
  • ชุมชนมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพ ลดภาวะเสี่ยงต่อการเกิดโรค ร่วมป้องกัน ควบคุมโรคติดต่อที่สำคัญอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ 2. เพื่อสร้างภาคีเครือข่ายในการป้องกัน เฝ้าระวังและควบคุมโรคติดต่ออย่างต่อเนื่อง 3. เพื่อพัฒนาศักยภาพ ทักษะส่วนบุคคลและชุมชนให้เกิดความพร้อมในการเฝ้าระวังและควบคุมป้องกันโรค
ตัวชี้วัด : 1. อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก ≤70 ต่อแสนประชากร 2. อัตราป่วยตายด้วยโรคไข้เลือดออก 0 ต่อแสนประชากร 3. ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจติดต่อมากกว่าร้อยละ 80
1.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 0
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ 2. เพื่อสร้างภาคีเครือข่ายในการป้องกัน เฝ้าระวังและควบคุมโรคติดต่ออย่างต่อเนื่อง
3. เพื่อพัฒนาศักยภาพ ทักษะส่วนบุคคลและชุมชนให้เกิดความพร้อมในการเฝ้าระวังและควบคุมป้องกันโรค

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้เชิงปฏิบัติการเจ้าหน้าที่อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านในการควบคุมโรคไข้เลือดออกและการพ่นหมอกควัน (2) กิจกรรมสำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลายและพ่นหมอกควันกำจัดยุงตัวแก่ในโรงเรียนและชุมชน (3) รณรงค์ป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ตำบลจวบ อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส (4) กิจกรรมให้ความรู้โรคไข้เลือดออกในโรงเรียน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการป้องกันโรคไข้เลือดออกในโรงเรียนและชุมชน ตำบลจวบ อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส ปีงบประมาณ 2565 จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 65-L8422-01-07

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายอาแพนดี สามะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด