กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมผู้มีความเสี่ยงต่อโรคเบาหวานความดันโลหิตสูงอัมพฤกษ์อัมพาตโรคหัวใจและหลอดเลือดปีงบประมาณ 2565
รหัสโครงการ 65-L2496-1-3
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลจอเบาะ
วันที่อนุมัติ 21 เมษายน 2565
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 21 เมษายน 2565 - 30 กันยายน 2565
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 27,720.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายอุสมัน กาเซ็ง
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลจอเบาะ อำเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส
ละติจูด-ลองจิจูด 6.382,101.66place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานโรคเรื้อรัง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 17 มี.ค. 2565 30 ก.ย. 2565 27,720.00
รวมงบประมาณ 27,720.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 200 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง เป็นโรคเรื้อรังที่เกิดจากปัจจัยที่ไม่สมารถควบคุมได้ เช่น กรรมพันธุ์ อายุ และปัจจัยที่สามารถควบคุมได้ เช่น ความอ้วน ความเครียด ขาดการออกกำลังกาย การบริโภคอาหารไม่ถูกส่วน การดื่มสุรา สูบบุหรี่ ถ้าหากประชาชนไม่มีการควบคุมปัจจัยดังกล่าว ร่วมกับการมีอายุที่มากขึ้น คือ ๓๕ ปีขึ้นไป ย่อมมีโอกาสเสี่ยงต่อการเจ็บป่วยด้วยโรคเบาหวานหรือความดันโลหิตสูงได้ซึ่งเมื่อเจ็บป่วยด้วยโรคดังกล่าวแล้วจำเป็นต้องรับประทานยาตลอดชีวิต หรือถ้าหากมีพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่เหมาะสมมีโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนตามมา ทำให้สูญเสียค่าใช้จ่ายมากขึ้น
จากผลการดำเนินงานคัดกรองโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูงในกลุ่มประชากรอายุ ๓๕ ปีขึ้นไปในเขตรับผิดชอบ ตำบลจอเบาะ อำเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส พบว่าตรวจคัดกรองโรคเบาหวาน จำนวน 2,963 ราย ได้รับการตรวจคัดกรองโรคเบาหวาน จำนวน ๒,878 ราย คิดเป็นร้อยละ ๙7.13 ตรวจพบประชาชนกลุ่มเสี่ยงสูงต่อ กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน จำนวน 441 คน คิดเป็นร้อยละ 14.88 และโรคความดันโลหิตสูง จำนวน ๒,371 ราย ตรวจคัดกรอง จำนวน ๒,344 ราย คิดเป็นร้อยละ 98.86 ตรวจพบประชาชนกลุ่มเสี่ยงสูงต่อ ความดันโลหิตสูงมาก จำนวน 87 คน คิดเป็นร้อยละ 3.70 ของประชากร อายุ ๓๕ ปีขึ้นไป
ดังนั้นเพื่อส่งเสริมให้ประชาชน โดยเฉพาะกลุ่มเสี่ยงสูงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง มีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพ รวมทั้ง สามารถประเมินและแก้ไขปัญหาภาวะสุขภาพของตนเอง ครอบครัวและชุมชนเพื่อป้องกัน โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลจอเบาะ อำเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส จึงได้จัดทำโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพประชาชนกลุ่มเสี่ยงสูงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ตำบลจอเบาะ อำเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส ปี ๒๕65 ขึ้น เพื่อลดอัตราป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ในกลุ่มประชากรอายุ ๓๕ ปี ขึ้นไป

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1.เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพตนเอง

๑.ประชาชนกลุ่มเสี่ยงสูงโรคเบาหวาน / ความดันโลหิตสูงเข้ามามีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพและสามารถพึ่งพาตนเองได้อย่างเหมาะสม ร้อยละ 90

200.00
2 2. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง

๒.ประชาชนกลุ่มเสี่ยงสูงจัดกิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพประชาชนกลุ่มเสี่ยงสูงโรคเบาหวาน / ความดันโลหิตสูงในชุมชน

200.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
ลำดับกิจกรรมหลักงบประมาณเม.ย. 65พ.ค. 65มิ.ย. 65ก.ค. 65ส.ค. 65ก.ย. 65
1 โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมผู้มีความเสี่ยงต่อโรคเบาหวานความดันโลหิตสูงอัมพฤกษ์อัมพาตโรคหัวใจและหลอดเลือดปีงบประมาณ 2565(17 มี.ค. 2565-30 ก.ย. 2565) 27,720.00            
รวม 27,720.00
1 โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมผู้มีความเสี่ยงต่อโรคเบาหวานความดันโลหิตสูงอัมพฤกษ์อัมพาตโรคหัวใจและหลอดเลือดปีงบประมาณ 2565 กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 200 27,720.00 1 27,720.00
17 มี.ค. 65 - 30 ก.ย. 65 จัดอบรม 200 27,720.00 27,720.00

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑. ประชาชนประชาชนกลุ่มเสี่ยงสูงโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงมีความรู้และทักษะในการดูแลตนเองเพื่อป้องกันโรคสามารถประเมินและแก้ไขปัญหาภาวะสุขภาพของตนเองครอบครัวและชุมชนได้ ๒.แกนนำประชาชนกลุ่มเสี่ยงสูงโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงมีการขยายผลแก่สมาชิกกลุ่มเสี่ยงในชุมชน ๓. ประชาชนประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงได้แลกเปลี่ยนประสบการณ์การดูแลตนเอง ๔. อัตราการตรวจพบโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงของประชาชนอายุ๓๕ปีขึ้นไปลดลง

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 11 พ.ค. 2565 09:11 น.