กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านโพธิ์


“ โครงการรณรงค์ ควบคุม ป้องกัน โรคไข้เลือดออก ปีงบประมาณ 2565 ”

ตำบลบ้านโพธิ์ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นางสำรวย ว่องไวยุทธ์ พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ รักษาการในตำแหน่งผู้อำนวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโพธิ์

ชื่อโครงการ โครงการรณรงค์ ควบคุม ป้องกัน โรคไข้เลือดออก ปีงบประมาณ 2565

ที่อยู่ ตำบลบ้านโพธิ์ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 65-L1501-1-001 เลขที่ข้อตกลง 06/2565

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2565 ถึง 30 กันยายน 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการรณรงค์ ควบคุม ป้องกัน โรคไข้เลือดออก ปีงบประมาณ 2565 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านโพธิ์ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านโพธิ์ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการรณรงค์ ควบคุม ป้องกัน โรคไข้เลือดออก ปีงบประมาณ 2565



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการรณรงค์ ควบคุม ป้องกัน โรคไข้เลือดออก ปีงบประมาณ 2565 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ้านโพธิ์ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 65-L1501-1-001 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2565 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 66,500.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านโพธิ์ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคไข้เลือดออกเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศไทยจากสถานการณ์การระบาดของโรค พบว่า มีอุบัติการณ์ต่ำกว่าค่ามัธยฐาน 5 ปี ย้อนหลังอย่างต่อเนื่องมาเป็นเวลาเกือบ 2 ปี (พ.ศ.2563-2564) จึงมีโอกาสที่ในปี พ.ศ.2565 จะเกิดการระบาดมากขึ้น ซึ่งคาดการณ์ว่าตลอดทั้งปีอาจมีผู้ป่วยสูงถึง 95,000 รายโดยช่วงไตรมาสแรกของปีมีแนวโน้มพบจำนวนผู้ป่วยประมาณ 3,000-5,000 รายต่อเดือนและเริ่มสูงขึ้นในเดือนพฤษภาคมจนสูงที่สุดประมาณ 10,000-16,000รายต่อเดือนในช่วงฤดูฝน (เดือนมิถุนายน – กันยายน)และจากการพิจารณาพื้นที่ระดับอำเภอเมืองอำเภอที่ตั้งของเทศบาลนครหรืออำเภอที่มีการระบาดของโรคไข้เลือดออกซ้ำซากในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา (พ.ศ.2560-2564) มีแนวโน้มพบอำเภอเสี่ยงสูงต่อการระบาดทั้งสิ้น จำนวน 308 อำเภอ จาก 928 อำเภอทั่วประเทศ สถานการณ์การระบาดของโรคไข้เลือดออกของประเทศตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม - 9 มีนาคม 2565 พบผู้ป่วย 607 ราย อัตราป่วย 0.91 ต่อแสนประชากรเสียชีวิต 2 ราย อัตราป่วยตาย ร้อยละ 0.33พบมากที่สุดในกลุ่มอายุ 5-14 ปี จำนวน 204 ราย อัตราป่วย 2.65 ต่อแสนประชากรสถานการณ์โรคในเขตสุขภาพที่ 12 พบผู้ป่วยมากที่สุดในจังหวัดสงขลา จำนวน 16 ราย อัตราป่วย 3.14 ต่อแสนประชากรรองลงมา จังหวัดพัทลุง จำนวน 15 ราย อัตราป่วย 4.63 ต่อแสนประชากรสำหรับจังหวัดตรัง ยังไม่มีรายงานผู้ป่วย(ข้อมูล ณ วันที่ 9 มีนาคม 2565 ข้อมูลจากรายงานการเฝ้าระวังโรคทางระบาดวิทยา 506 กองระบาดวิทยา ) จากสถานการณ์การระบาดของโรคโควิด-19เริ่มมีการผ่อนคลายมาตรการของโรคโควิด-19 ให้ประชาชนสามารถเดินทางและไปทำกิจกรรมในสถานที่สาธารณะได้มากขึ้น จึงมีความเสี่ยงที่อุบัติการณ์ของโรคไข้เลือดออกจะสูงขึ้น และทำให้เกิดการระบาดต่อเนื่องตลอดปี พ.ศ.2565หากไม่ได้มีการป้องกันโรคแต่เนิ่นๆดังนั้นเพื่อป้องกันการแพร่ระบาดในวงกว้างและลดความรุนแรงของโรคในช่วงก่อนฤดูกาลระบาด เป็นการลดจำนวนป่วย และนำไปสู่การเสียชีวิตด้วยโรคไข้เลือดออกโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโพธิ์และกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลบ้านโพธิ์อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรังได้เห็นความสำคัญในการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก จึงได้จัดทำโครงการรณรงค์ ควบคุม ป้องกัน โรคไข้เลือดออก ปีงบประมาณ 2565 ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. สำรวจและทำลายแหล่งลูกน้ำยุงลายตามละแวกบ้านที่รับผิดชอบของ อสม. โดยใช้แบบสำรวจลูกน้ำยุงลาย อย่างน้อยสัปดาห์ละ 1 ครั้ง
  2. กิจกรรมจิตอาสาพัฒนาสิ่งแวดล้อมกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย โดยทีมหมอครอบครัว/ผู้นำชุมชน /อสม. และประชาชนจิตอาสา อย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 11,211
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑. ประชาชนมีส่วนร่วมในการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายอย่างต่อเนื่อง ๒.อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกลดลงไม่เกิน 50 ต่อแสนประชากร ๓.ไม่มีอัตราป่วยตายด้วยโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ตำบลบ้านโพธิ์


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 11211
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 11,211
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) สำรวจและทำลายแหล่งลูกน้ำยุงลายตามละแวกบ้านที่รับผิดชอบของ อสม. โดยใช้แบบสำรวจลูกน้ำยุงลาย อย่างน้อยสัปดาห์ละ 1 ครั้ง (2) กิจกรรมจิตอาสาพัฒนาสิ่งแวดล้อมกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย โดยทีมหมอครอบครัว/ผู้นำชุมชน /อสม. และประชาชนจิตอาสา อย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการรณรงค์ ควบคุม ป้องกัน โรคไข้เลือดออก ปีงบประมาณ 2565 จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 65-L1501-1-001

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสำรวย ว่องไวยุทธ์ พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ รักษาการในตำแหน่งผู้อำนวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโพธิ์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด