กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการคัดกรองผู้มีความเสี่ยงในการติดเชื้อไวรัสโคโรนา (Covid-19)
รหัสโครงการ 65-L2981-2-08
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานอื่นๆ ที่ไม่ใช่หน่วยงานสาธารณสุข เช่น โรงเรียน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงเรียนมูลนิธิอาซิซสถาน
วันที่อนุมัติ 11 พฤษภาคม 2565
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 11 พฤษภาคม 2565 - 30 มิถุนายน 2565
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2565
งบประมาณ 32,500.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายกามาล อับดุลวาฮับ
พี่เลี้ยงโครงการ นางสาวฟาราณัท อาเส็น
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลนาประดู่ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 500 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละความครอบคลุมในการคัดกรองนักเรียน และครูในโรงเรียน
100.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ตามที่รัฐบาลได้ประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินในทุกเขตท้องที่ทั่วราชอาณาจักร ในปีที่ผ่านมา ตั้งแต่ 26 มีนาคม 2563 และตามมติคณะรัฐมนตรีได้ขยาย ประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินในทุกเขตท้องที่ทั่วราชอาณาจักร ออกไปถึง 30 กันยายน 2564 และในปี2564 เมื่อวันที่ 2 สิงหาคม 2564 เว็บไซต์ราชกิจจานุเบกษา เผยแพร่คำสั่งศูนย์บริหารสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19) ที่ 11/2564 เรื่อง พื้นที่สถานการณ์ที่กำหนดเป็นพื้นที่ควบคุมสูงสุดและเข้มงวด พื้นที่ควบคุมสูงสุด และพื้นที่ควบคุม ตามข้อกำหนดออกตามความในมาตรา 9 แห่งพระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. 2548 ประกาศระบุว่า ตามที่ได้มีการประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินในทุกเขตท้องที่ทั่วราชอาณาจักรตั้งแต่วันที่ 26 มีนาคม พ.ศ. 2563 และต่อมาได้ขยายระยะเวลาการบังคับใช้ประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินดังกล่าวออกไปเป็นคราวที่ 13 จนถึงวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2564 นั้น สถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อโควิด-19 ยังทวีความรุ่นแรงมากยิ่งขึ้นในหลายพื้นที่รวมทั้งพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ ได้ถูกกำหนดกำหนดให้เป็นพื้นที่ควบคุมสูงสุดและเข้มงวด ในการนี้มีนโยบายให้โรงเรียนเปิดเรียนระบบ On-site โดยต้องทำเป็นพื้นที่ปลอดโควิด หรือ Covid Free Setting มีกิจกรรมให้ครู และนักเรียนฉีดวัคซีนป้องกันโควิด-19 ครบถ้วน มีการสุ่มตรวจนักเรียนที่มาเรียน On-site ด้วยชุด เพื่อเป็นการดำเนินการเชิกรุกในการป้องกันการแพร่ระบาดของไวรัสโคโรนา (Covid-19) ให้พ้นต่อสถานการณ์ จึงได้จัดทำโครงการคัดกรองผู้มีความเสี่ยงในการติดเชื้อไวรัสโคโรนา (Covid-19) ขึ้น

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อเพิ่มความครอบคลุมในการคัดกรองกลุ่มเสี่ยงในโรงเรียน

ร้อยละความครอบคลุมในการคัดกรองกลุ่มเสี่ยงในโรงเรียนไม่น้อยกว่า 90

100.00 90.00
2 เพื่อหยุดการแพร่ระบาดและเพิ่มประสิทธิภาพการดูแลรักษา

หยุดการแพร่ระบาดและเพิ่มประสิทธิภาพการดูแลรักษาร้อยละ100

100.00 100.00
3 เพื่อการป้องกันไม่ให้เกิดผู้ติดเชื้อรายใหม่ บุคคลทั่วไปและผู้มีสุขภาพอ่อนแอ ผู้ที่มีโรคประจำตัวและผู้ที่มีความเสี่ยงสูง

ป้องกันไม่ให้เกิดผู้ติดเชื้อรายใหม่ บุคคลทั่วไปและผู้มีสุขภาพอ่อนแอ ผู้ที่มีโรคประจำตัวและผู้ที่มีความเสี่ยงสูงร้อยละ100

100.00 100.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
วันที่ชื่อกิจกรรมกลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)

วัตถุประสงค์ข้อที่ 1 : เพื่อเพิ่มความครอบคลุมในการคัดกรองกลุ่มเสี่ยงในโรงเรียน

รวม 0 0.00 0 0.00

วัตถุประสงค์ข้อที่ 2 : เพื่อหยุดการแพร่ระบาดและเพิ่มประสิทธิภาพการดูแลรักษา

รวม 0 0.00 0 0.00

วัตถุประสงค์ข้อที่ 3 : เพื่อการป้องกันไม่ให้เกิดผู้ติดเชื้อรายใหม่ บุคคลทั่วไปและผู้มีสุขภาพอ่อนแอ ผู้ที่มีโรคประจำตัวและผู้ที่มีความเสี่ยงสูง

รวม 0 0.00 0 0.00

ไม่ระบุวัตถุประสงค์

11 พ.ค. 65 - 30 มิ.ย. 65 การคัดกรองบุคคลที่มีความเสี่ยงต่อการติดเชื้อไวรัสโควิด 19 32,500.00 -

หมายเหตุ : งบประมาณ และ ค่าใช้จ่าย รวมทุกวัตถุประสงค์อาจจะไม่เท่ากับงบประมาณรวมได้

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. นักเรียน ครูและบุคลากรในโรงเรียน ประชาชนกลุ่มเสี่ยงและผู้ต้องสงสัยว่าติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ได้รับการคัดกรองด้วยชุดทดสอบเบื้องต้น

  2. นักเรียน ครูและบุคลากรในโรงเรียนได้รับการเฝ้าระวัง คัดกรองเบื้องต้นด้วย ATK ติดตามดูแลอย่างใกล้ชิด

  3. นักเรียน ครูและบุคลากรในโรงเรียนได้รับความรู้ด้านการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อโควิด-19 เพื่อไม่ให้เป็นพาหะนำโรคระบาดมาแพร่ระบาดในโรงเรียนและแหล่งชุมชน

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 18 พ.ค. 2565 15:35 น.