กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะโละไกรทอง


“ โครงการใช้ยาสมเหตุผล คนบ้านใหญ่ ปลอดภัย ”

ตำบลตะโละไกรทอง อำเภอไม้แก่น จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นายโซเพียน ซูหลง

ชื่อโครงการ โครงการใช้ยาสมเหตุผล คนบ้านใหญ่ ปลอดภัย

ที่อยู่ ตำบลตะโละไกรทอง อำเภอไม้แก่น จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 65-3023-01-05 เลขที่ข้อตกลง 05/2565

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการใช้ยาสมเหตุผล คนบ้านใหญ่ ปลอดภัย จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตะโละไกรทอง อำเภอไม้แก่น จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะโละไกรทอง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการใช้ยาสมเหตุผล คนบ้านใหญ่ ปลอดภัย



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการใช้ยาสมเหตุผล คนบ้านใหญ่ ปลอดภัย " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตะโละไกรทอง อำเภอไม้แก่น จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 65-3023-01-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2565 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,525.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะโละไกรทอง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เมื่อเกิดความเจ็บป่วยประชาชนส่วนใหญ่จะมีวิธีการรักษาตนเองตามแต่ทัศนคติของแต่ละคน แต่ ส่วนมากเลือกที่จะซื้อยามารับประทานเอง ซึ่งเป็นการใช้ยาโดยไม่ผ่านการตัดสินใจของบุคลากรทางการแพทย์ หรือกล่าวอีกนัยหนึ่งเป็นการใช้ยารักษาตนเอง (Self-medication) ซึ่งเป็นปรากฏการณ์สากลและเป็นรูปแบบการ จัดการปัญหาสุขภาพที่พบบ่อยที่สุดอย่างหนึ่งในทุกสังคม และพบว่าพฤติกรรมการซื้อยากินเองของประชาชน คือ หนึ่งในสาเหตุสําคัญที่ก่อให้เกิดปัญหาการใช้ยาที่ไม่เหมาะสมของประเทศ ข้อมูลจากการศึกษาต่าง ๆ พบว่า ยังมี การใช้ยาอย่างไม่สมเหตุผลในอัตราสูงอาจถึงครึ่งหนึ่งของการใช้ยาทั้งหมด โดยเฉพาะในประเทศกําลังพัฒนา ซึ่ง นําไปสู่การสูญเสียตามมาทั้งในระดับบุคคลผู้ใช้ยา ที่ทําให้เกิดปัญหาต่อประสิทธิผลของการรักษา และปัญหาจาก ความคลาดเคลื่อนหรือผลข้างเคียงของยา ไปจนถึงสังคมโดยรวม เช่น การเกิดแนวคิดว่าเมื่อเจ็บป่วยแล้วจะต้อง กินยา ทําให้ความต้องการในการใช้ยาเพิ่มมากขึ้นโดยไม่จําเป็น หรือผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมในระยะยาว เช่น การเกิดปัญหาเชื้อโรคดื้อยา (Antimicrobial Resistance : AMR) มากขึ้น จากการใช้ยาปฏิชีวนะที่ไม่เป็นไปตาม ข้อบ่งชี้ ทําให้ผู้ป่วยต้องอยู่โรงพยาบาลนานขึ้น มีอัตราการเสียชีวิตสูงขึ้น และนําไปสู่ความสูญเสียทางเศรษฐกิจ ในประเทศไทย คาดว่ามีมูลค่าสูญเสียทางเศรษฐกิจจากการเจ็บป่วยและเสียชีวิตก่อนวัยอันควรถึงปีละกว่า ๔๐,000 ล้านบาทปี ๒๕๖๑ จังหวัดปัตตานี พบคือการติดเชื้อยาต้านจุลชีพในกระแสเลือด (bacteremia) ร้อยละ ๑.๘๓ ปัญหาการดื้อยาที่สําคัญ คือ การดื้อยาของเชื้อแบคทีเรีย Escherichia coli มากที่สุด คือร้อยละ ๐.๘๕ (๒๔ราย ใน ๒,๘๔๒ราย) รองลงมาคือ การดื้อยาของเชื้อแบคทีเรีย Klebsiella pneumonia ร้อยละ ๐.๕๖ (ดราย ใน ๒,๕๔๒ราย)ในส่วนของการใช้ยาในหน่วยบริการสาธารณสุขพบว่ายังคงมีปัญหาการใช้ยาปฏิชีวนะใน โรคทางเดินหายใจส่วนบนและโรคอุจจาระร่วงเฉียบพลันและจากการสํารวจการใช้ยาในชุมชนของจังหวัดปัตตานี ปี ๒๕๖๐ พบว่า ร้อยละ ๕๔.๔๑ ของร้านชํามีการขายยาแผนปัจจุบัน (๕๗๐ ร้านจาก ๑,๐๓๘ ร้าน) ขายยา อันตรายร้อยละ ๕๕.๕๕ โดยส่วนใหญ่ยาที่พบเป็นยาต้านจุลชีพ ร้อยละ 50.00 และจากการเยี่ยมบ้านพบยา ต้านจุลชีพเหลือใช้ ร้อยละ ๒๖.๖๖
สําหรับรพ.สต.บ้านใหญ่ ตําบลไม้แก่น อําเภอไม้แก่น จังหวัดปัตตานี มีประชากร ๑,๒๒๔ คน ๒๖๗ หลังคาเรือน จากการสํารวจชุมชนโดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุข เมื่อปี งบประมาณ ๒๕๖๑ พบว่า มี ร้านชํา ๑๐ ร้าน จากผลการดําเนินงานการใช้ยาอย่างสมเหตุผลในกลุ่มยาปฏิชีวนะในโรคติดเชื้อที่ระบบการหายใจช่วงบนและ หลอดลมอักเสบเฉียบพลันและในโรคอุจจาระร่วงเฉียบพลันในผู้ป่วยนอก จากการเยี่ยมบ้านพบว่ายังมีการใช้ยา ปฏิชีวนะ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมในการจัดการปัญหาการใช้ยาอย่างไม่สมเหตุผลในชุมชนบ้านใหญ่-กระจูด ตำบลไม้แก่น อำเภอไม้แก่น จังหวัดปัตตานี

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. การมีส่วนร่วมในการจัดการปัญหาการใช้ยาอย่างไม่สมเหตุผล

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 55
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

-ร้านชำในชุมชนบ้านใหญ่-กระจูด ตำบลไม้แก่น อำเภอไม้แก่น จังหวัดปัตตานี -ไม่มียาต้านจุลชีพเหลือใช้ในครัวเรือนของกลุ่มตัวอย่างครัวเรือนที่สุ่มตรวจเยี่ยม -ประชาชนในชุมชนบ้ายนใหญ่-กระจู ตำบลไม้แก่น อำเภอไม้แก่น จังหวัดปัตตานี มีความรู้เรื่องเชื้อดื้อยาและการตระหนักรู้ในการใช้ยาต้านจุลชีพ -เกิดรูปแบบการจัดการการใช้ยาอย่างสมเหตุผลในชุมชนหรือเป็นชุมชนต้นแบบการดูแลตนเองด้วยการใช้ยาอย่างสมเหตุผลในชุมชนบ้านใหญ่-กระจูด ตำบลไม้แก่น อำเภอไม้แก่น จังหวัดปัตตานี


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมในการจัดการปัญหาการใช้ยาอย่างไม่สมเหตุผลในชุมชนบ้านใหญ่-กระจูด ตำบลไม้แก่น อำเภอไม้แก่น จังหวัดปัตตานี
ตัวชี้วัด : ร้อยละ80ปัญหาการใช้ยาอย่างไม่สมเหตุผลอย่างไม่สมเหตุผล
55.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 55
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 55
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมในการจัดการปัญหาการใช้ยาอย่างไม่สมเหตุผลในชุมชนบ้านใหญ่-กระจูด ตำบลไม้แก่น อำเภอไม้แก่น จังหวัดปัตตานี

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) การมีส่วนร่วมในการจัดการปัญหาการใช้ยาอย่างไม่สมเหตุผล

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการใช้ยาสมเหตุผล คนบ้านใหญ่ ปลอดภัย จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 65-3023-01-05

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายโซเพียน ซูหลง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด