กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเตงนอก


“ โครงการฟันดี ชีวีสุขทุกช่วงวัย ประจำปี 2565 ”

ตำบลสะเตงนอก อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางสปีเนาะ กะโด

ชื่อโครงการ โครงการฟันดี ชีวีสุขทุกช่วงวัย ประจำปี 2565

ที่อยู่ ตำบลสะเตงนอก อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 35

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 13 เมษายน 2565 ถึง 31 สิงหาคม 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการฟันดี ชีวีสุขทุกช่วงวัย ประจำปี 2565 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสะเตงนอก อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเตงนอก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการฟันดี ชีวีสุขทุกช่วงวัย ประจำปี 2565



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการฟันดี ชีวีสุขทุกช่วงวัย ประจำปี 2565 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสะเตงนอก อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 13 เมษายน 2565 - 31 สิงหาคม 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 34,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเตงนอก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากรายงานผลการสำรวจสภาวะสุขภาพช่องปากแห่งชาติ ครั้งที่ 8 พ.ศ. 2560 พบว่า กลุ่มเด็กอายุ 12 ปี ได้รับการตรวจฟัน ร้อยละ 84.7 มีปัญหาฟันถาวรผุ ร้อยละ 52 โดยพบว่ามีฟันผุที่ไม่ได้รับการรักษา ร้อยละ 31.5 มีฟันผุระยะเริ่มต้น ร้อยละ 12.2 เคยปวดฟัน ร้อยละ 36.7 และเคยหยุดเรียนเพราะไปทำฟัน ร้อยละ 12.2 มีเพียงร้อยละ 48 ปัจจุบันพบว่าเด็กไทยมากกว่าครึ่งหนึ่งมีฟันผุ ซึ่งถ้าไม่ดูแลสุขภาพช่องปากให้ดีรวมถึงพฤติกรรมการบริโภค ปัญหาสุขภาพช่องปากจะสะสมและมีความรุนแรงจนอาจเกิดการสูญเสียฟันถาวรตั้งแต่เด็ก แต่อย่างไรก็ตามจากการสำรวจพบว่า เด็กวัยเรียนมีพฤติกรรมที่พึงประสงค์ ด้านการแปรงฟัน เพียงร้อยละ 9.5 แปรงฟันก่อนนอนทุกวัน ร้อยละ 59.7 และมีพฤติกรรมการบริโภคอาหารเสี่ยง ได้แก่ ดื่มน้ำหวานและน้ำอัดลม มากกว่า 2 ครั้งต่อวัน ร้อยละ 52 กินขนมกรุบกรอบ และลูกอม มากกว่า 2 ครั้งต่อวัน ร้อยละ 28.9 และ 21.4 ตามลำดับ (แนวทางการดำเนินงานทันตสาธารณสุข, 2564) บริโภคขนมเหล่านี้ สำหรับกลุ่มวัยรุ่นและวัยทำงานอีกทั้งยังพบปัญหาเหงือกอักเสบ ร้อยละ 50.1 เกิดร่วมกับหินน้ำลายและเริ่มเป็นโรคปริทันต์ที่มีร่องลึก 4-5 มิลลิเมตร ร้อยละ 19.8 โดยเฉพาะหญิงวัยเจริญพันธ์ที่อยู่ในช่วงวัยที่มีบุตรได้ โดยทั่วไปจะมีอายุตั้งแต่ 15–49 ปี และผู้ที่มีฟันผุยังไม่ไปรับการรักษา ร้อยละ 47.4 นอกจากนี้ยังพบพฤติกรรมการดูแลความสะอาดในช่องปากที่สัมพันธ์กับการเกิดโรคฟันผุในหญิงตั้งครรภ์ ได้แก่ พฤติกรรมและความถี่ในการแปรงฟันเนื่องจากผลของการตั้งครรภ์ทำให้มีอาการอาเจียนบ่อยๆ ทำให้ไม่สะดวกในการแปรงฟัน และใช้ไหมขัดฟันทำความสะอาดซอกฟัน
สำหรับกลุ่มผู้สูงอายุ พบว่าปัญหาหลัก คือ ไม่มีฟันธรรมชาติเหลือพอในการบดเคี้ยวอาหาร มีฟันเหลืออยู่ในช่องปากเฉลี่ย 4 ใน 6 ส่วนต่อคน มีการสูญเสียฟันอย่างน้อย 1 ซี่ ร้อยละ 83 สูญเสียฟันทั้งปาก ร้อยละ 7.2 โดยกลุ่มวัยนี้มีความจำเป็นในการรักษา พบว่า ความจำเป็นสูงสุดอันดับแรก คือ การถอนฟัน ร้อยละ 53.6 สำหรับการใส่ฟันเทียมทั้งปาก พบว่า ร้อยละ 6.5 และเพิ่มขึ้นชัดเจนเป็นร้อยละ 18.9 และยังพบปัญหา ฟันผุรากฟันผุ โรคปริทันต์ มะเร็งช่องปาก ภาวะน้ำลายแห้ง ฟันสึก และสภาวะในช่องปากที่สัมพันธ์กับโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง จำเป็นต้องรณรงค์ส่งเสริมสุขภาพช่องปากใน ทุกกลุ่มวัยอย่างต่อเนื่อง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสะเตงนอก จึงได้จัดทำโครงการฟันดี ชีวีสุขทุกช่วงวัย ประจำปี 2565 เพื่อให้ความรู้โรคในช่องปากและการส่งเสริมสุขภาพช่องปากให้กับทุกช่วงอายุ เพื่อให้มีทักษะในการดูแลสุขภาพช่องปากที่ถูกต้องแล้วยังมีความรู้เรื่องสุขภาพช่องปากที่ดีต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมในกลุ่มผู้ปกครองเด็กอายุ 0-5 ปี คลินิก WCC
  2. กิจกรรมในกลุ่มหญิงตั้งครรภ์
  3. กิจกรรมในกลุ่มผู้สูงอายุ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 50
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 50
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 50
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. เพื่อให้ทุกกลุ่มอายุมีความรู้และความเข้าใจในการดูแลสุขภาพช่องปากที่ถูกต้อง
  2. เด็กวัยเรียนได้ใช้ยาสีฟันที่มีส่วนผสมของฟลูออไรด์เพื่อป้องกันฟันผุ
  3. เพื่อให้ทุกกลุ่มอายุมีการแปรงฟันที่ถูกวิธีและป้องกันฟันผุได้ถูกต้อง

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมในกลุ่มผู้ปกครองเด็กอายุ 0-5 ปี คลินิก WCC

วันที่ 21 กรกฎาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.อบรมให้ความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพช่องปากเด็ก 2.เรื่องการรณรงค์ลดการบริโภคอาหารหวาน 3.เรื่องเทคนิคการแปรงฟันอย่างมีคุณภาพสำหรับเด็กอายุ 0-5 ปี

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.ผู้ปกครองเด็กมีความรู้และความเข้าใจในการดูแลสุขภาพช่องปากที่ถูกต้อง 2.เด็กวัยเรียนได้ใช้ยาสีฟันที่มีส่วนผสมของฟลูออไรด์เพื่อป้องกันฟันผุ 3.กลุ่มเป้าหมายมีการแปรงฟันที่ถูกวิธีและป้องกันฟันผุได้ถูกต้อง

 

0 0

2. กิจกรรมในกลุ่มหญิงตั้งครรภ์

วันที่ 22 กรกฎาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.อบรมให้ความรู้เรื่องสุขภาพช่องปากระหว่างการตั้งครรภ์ 2.ให้ความรู้เรื่องสุขภาพช่องปากที่ส่งผลให้เกิดโรคฟันผุและอาหารที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพช่องปากที่ดี 3.ให้ความรู้เรื่องเทคนิคการแปรงฟันและการใช้อุปกรณ์เสริมอย่างมีคุณภาพ 4.ส่งต่อหญิงตั้งครรภ์ให้ได้รับการขูดหินน้ำลาย ในไตรมาส 2

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.หญิงตั้งครรภ์มีความรู้และความเข้าใจในการดูแลสุขภาพช่องปากที่ถูกต้อง 2.หญิงตั้งครรภ์ได้ใช้ยาสีฟันที่มีส่วนผสมของฟลูออไรด์เพื่อป้องกันฟันผุ 3.กลุ่มเป้าหมายมีการแปรงฟันที่ถูกวิธีและป้องกันฟันผุได้ถูกต้อง

 

0 0

3. กิจกรรมในกลุ่มผู้สูงอายุ

วันที่ 23 กรกฎาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.อบรมให้ความรู้เรื่องโรคในช่องปากผู้สูงอายุและการดูแลช่องปากได้อย่างถูกต้อง 2.ให้ความรู้เรื่องสุขภาพช่องปากที่ส่งผลให้เกิดโรคฟันผุและอาหารที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพช่องปากที่ดี 3.เทคนิคการแปรงฟันและการใช้อุปกรณ์เสริมอย่างมีคุณภาพ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.ผู้สูงอายุมีความรู้และความเข้าใจในการดูแลสุขภาพช่องปากที่ถูกต้อง 2.ผู้สูงอายุได้ใช้ยาสีฟันที่มีส่วนผสมของฟลูออไรด์เพื่อป้องกันฟันผุ 3.กลุ่มเป้าหมายมีการแปรงฟันที่ถูกวิธีและป้องกันฟันผุได้ถูกต้อง

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 150
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 50
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 50
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 50
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมในกลุ่มผู้ปกครองเด็กอายุ 0-5 ปี คลินิก WCC (2) กิจกรรมในกลุ่มหญิงตั้งครรภ์ (3) กิจกรรมในกลุ่มผู้สูงอายุ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการฟันดี ชีวีสุขทุกช่วงวัย ประจำปี 2565 จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสปีเนาะ กะโด )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด