กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในโรงเรียน ”
ตำบลสะเตงนอก อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา



หัวหน้าโครงการ
นางสปีเนาะ กะโด




ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในโรงเรียน

ที่อยู่ ตำบลสะเตงนอก อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 37

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 พฤษภาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2565

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในโรงเรียน จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสะเตงนอก อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเตงนอก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในโรงเรียน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในโรงเรียน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสะเตงนอก อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 พฤษภาคม 2565 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 29,250.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเตงนอก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) มีการระบาดใหญ่ไปทั่วโลก ส่งผลกระทบแก่หลายประเทศ ซึ่งโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เป็นโรคติดต่อที่เกิดจากไวรัสโคโรนาชนิดที่มีการค้นพบล่าสุด โดยพบการระบาดครั้งแรกที่เมืองอู่ฮั่น ประเทศจีน ในเดือนธันวาคม ปี ค.ศ. 2019 สามารถแพร่จากคนสู่คนผ่านทางฝอยละอองจาก จมูกหรือปาก ซึ่งขับออกมาเมื่อผู้ป่วยไอหรือจาม เรารับเชื้อได้จากการหายใจเอาฝอยละอองเข้าไปจากผู้ป่วยหรือจากการเอามือไปจับพื้นผิวที่มีฝอยละอองเหล่านั้นแล้วมาจับตามใบหน้า โดยสถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ทั่วโลก ณ วันที่ 12 ธันวาคม 2564 พบว่า มีผู้ติดเชื้อไวรัสโควิด-19 อยู่ที่ 269,985,626 ราย และมียอดสะสมผู้เสียชีวิตอยู่ที่ 5,317,622 ราย การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในประเทศไทยสามารถควบคุมการระบาดได้ดี เป็น 1 ใน 7 ประเทศ ที่องค์การอนามัยโลกให้การชื่นชมเนื่องจากประเทศไทยได้รับความร่วมมือที่ดีจากทุกภาคส่วน อย่างไรก็ตาม ปัจจุบันประเทศไทยยังมีการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 และสถานการณ์ผู้ติดเชื้อทั่วโลกยังมีแนวโน้มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยสถานการณ์การระบาดของโรคไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในประเทศไทย ณ วันที่ 12 ธันวาคม 2564พบว่า มีผู้ติดเชื้อรายใหม่ 3,787ราย ผู้ป่วยสะสม 2,168,646ราย พบผู้เสียชีวิตใหม่ 20 ราย ทำให้ยอดผู้เสียชีวิตสะสมอยู่ที่ 21,171 ราย และยอดผู้ป่วยรักษาตัวหายกลับบ้านได้แล้ว 2,095,859 ราย ส่วนสถานการณ์การระบาดของโรคไวรัสโคโรนา 2019 จังหวัดยะลาจัดเป็นอันดับต้น ๆ ของประเทศไทย ซึ่งข้อมูลในวันที่ 24 ตุลาคม 2564 จังหวัดยะลามียอดผู้ป่วยติดเชื้อไวรัสโคโรนา 19 สะสมสูงถึง 38,237 ราย โดยมีผู้ป่วยติดเชื้อโควิด 19 รายใหม่จำนวน 532 ราย และพบยอดผู้เสียชีวิตสะสม 253 ราย โดยพบยอดผู้ติดเชื้อสูงสุดในเขตอำเภอเมืองยะลา ตำบลสะเตงนอก เป็นตำบลหนึ่งของอำเภอเมืองยะลาที่พบปัญหาการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 19 จากการสำรวจเเละติดตามผลพบว่า พื้นที่ตำบลสะเตงนอก อำเภอเมือง จังหวัดยะลา เป็นอีกพื้นที่หนึ่งที่มีปัญหาการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) มาอย่างต่อเนื่อง และพื้นที่ที่อยู่ในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสะเตงนอก ตำบลสะเตงนอก อำเภอเมือง จังหวัดยะลา มีปัญหาการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) มาอย่างต่อเนื่องเช่นกัน ข้อมูลอัตราป่วยด้วยโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสะเตงนอก พบผู้ติดเชื้อสะสมจำนวน 1,100 ราย (ข้อมูล ณ วันที่ 10 พฤศจิกายน 2564 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสะเตงนอก) เเละยังพบผู้ติดเชื้อเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยมีการเเพร่กระจายเชื้อไวรัสโคโรนา 19 อย่างรวดเร็ว จึงจัดเป็นปัญหาทางสาธารณสุขที่ต้องดำเนินการเเก้ไขปัญหาให้กับประชาชนเพื่อให้ชุมชนพ้นวิกฤติการเกิดโรคระบาดครั้งนี้ จังหวัดยะลา พบว่าประชาชนมีพฤติกรรมการป้องกันตนเองที่ไม่เหมาะสม เช่น การสวมแมส การเดินทางไปที่แออัดและการไม่ยอมเข้ารับการตรวดหาเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 เป็นต้นทำให้เกิดการระบาดในชุมชนได้อย่างรวดเร็ว ทั้งนี้การเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) จำเป็นต้องมีการดำเนินการให้ความรู้ คำแนะนำให้กับนักเรียนในสถานศึกษา ในเขตพื้นที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสะเตงนอก จึงสันนิฐานได้ว่าการแพร่เชื้อและการกระจายโรค จะเกิดขึ้นได้ทั้ง ชุมชน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และโรงเรียน ด้วยเหตุนี้การควบคุมโรคจะต้องอาศัยความร่วมมือทั้งจาก ชุมชน โรงเรียน องค์การปกครองส่วนท้องถิ่น และหน่วยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสะเตงนอก ตำบลสะเตงนอก อำเภอเมือง จังหวัดยะลา ได้ตระหนักดีในบทบาทหน้าที่ในการเฝ้าระวัง ควบคุม และป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เพื่อที่จะพัฒนาคุณภาพชีวิตแก่เด็กนักเรียน และเป็นการลดภาระค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาล จึงได้จัดทำโครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในโรงเรียน ประจำปี 2565 ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโรคไข้เลือดออกแก่แกนนำนักเรียนโรงเรียนอิสลาฮียะห์

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 150
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. อัตราป่วยด้วยโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในโรงเรียนลดลง ร้อยละ 20
    2.ทำให้แกนนำนักเรียน มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) และมี พฤติกรรมที่ถูกต้องเหมาะสม
  2. แกนนำนักเรียนให้ความร่วมมือในการดำเนินการควบคุมและป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. จัดอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโรคไข้เลือดออกแก่แกนนำนักเรียนโรงเรียนอิสลาฮียะห์

วันที่ 4 กรกฎาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.ประชุมเพื่อเตรียมการ 2.ประชาสัมพันธ์โครงการแก่กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมโครงการ 3.จัดทำแผนออกรณรงค์ในชุมชน 4.จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (covid-19) แก่แกนนำนักเรียน 5.จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (covid-19) แก่แกนนำครอบครัว 6.วิเคราะห์ สรุปผลการดำเนินงาน 7.ประเมินผลโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.อัตราป่วยด้วยโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (covid-19) ในโรงเรียนลดลง 2.แกนนำนักเรียน มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (covid-19)และมีพฤติกรรมที่ถูกต้องเหมาะสม 3.แกนนำนักเรียนให้ความร่วมมือในการดำเนินการควบคุมและป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (covid-19)

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 150
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 150
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโรคไข้เลือดออกแก่แกนนำนักเรียนโรงเรียนอิสลาฮียะห์

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในโรงเรียน จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสปีเนาะ กะโด )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด