กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการดูแลผู้สูงอายุ / ผู้พิการ/ผู้ด้อยโอกาสที่มีภาวะพึ่งพิงโดยชุมชน ”
จังหวัดตรัง



หัวหน้าโครงการ
นางน้องนุช หนูนาค




ชื่อโครงการ โครงการดูแลผู้สูงอายุ / ผู้พิการ/ผู้ด้อยโอกาสที่มีภาวะพึ่งพิงโดยชุมชน

ที่อยู่ จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ L-65-8428-03-01 เลขที่ข้อตกลง 8/2565

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2565

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการดูแลผู้สูงอายุ / ผู้พิการ/ผู้ด้อยโอกาสที่มีภาวะพึ่งพิงโดยชุมชน จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาท่ามใต้ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการดูแลผู้สูงอายุ / ผู้พิการ/ผู้ด้อยโอกาสที่มีภาวะพึ่งพิงโดยชุมชน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการดูแลผู้สูงอายุ / ผู้พิการ/ผู้ด้อยโอกาสที่มีภาวะพึ่งพิงโดยชุมชน " ดำเนินการในพื้นที่ จังหวัดตรัง รหัสโครงการ L-65-8428-03-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2564 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,470.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาท่ามใต้ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 60 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ) ปัจจุบันวิทยาการด้านการแพทย์มีความเจริญ ก้าวหน้ามากขึ้นส่งผลให้ประชาชนมีคุณภาพชีวิตดีขึ้น คนส่วนใหญ่สามารถดูแลสุขภาพตนเองได้ ทำให้คนมีอายุเฉลี่ยสูงขึ้นมาก ส่งผลต่อสังคมผู้สูงอายุในประเทศไทย คือ ทำให้จำนวนและสัดส่วนจำนวนและสัดส่วนของผู้สูงอายุเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว คนไทยทุกวันนี้ มีอายุเฉลี่ย 72 ปี อายุเฉลี่ยเพศชาย 68 ปี และเพศหญิง 78 ปีและเนื่องจากบริบทของสังคมในปัจจุบันมีการ เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว สังคมจึงมีลักษณะ วัตถุนิยม บริโภคนิยมทำให้ทุกคนต้องต่อสู้ดิ้นรนการทำมาหากินเพื่อปากท้องของตนเองและ ครอบครัวจึงเป็นสิ่งจำเป็นหลายครอบครัวจึงจำเป็นต้องทิ้งบ้านเรือนรวมทั้งผู้สูงวัย และผู้พิการทำให้ผู้สูงวัยต้องอยู่ตามลำพัง และมีผู้สูงวัยและผู้พิการจำนวนมากที่เจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรังจากโครงสร้างประชากรที่มีการเปลี่ยนแปลง อย่างรวดเร็ว พบว่าประชากรผู้สูงอายุเพิ่มขึ้นอย่าง ต่อเนื่อง ผู้พิการที่ที่สังคมต้องดูแลซึ่งส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุรวมทั้งผู้ดูแลผู้สูงอายุ จากการเยี่ยมบ้านการดูแลผู้สูงอายุผู้สูงอายุส่วนใหญ่อยู่คนเดียว ไม่มี คนในครอบครัวดูแล ต้องพึ่งพาเพื่อนบ้าน ดังนั้นชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลนาท่ามใต้อำเภอเมืองจังหวัดตรังจึงได้การดำเนินงานจัดทำโครงการอบรมเพิ่มศักยภาพอาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุ ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง,ผู้พิการ ตำบลนาท่ามใต้ขึ้น ซึ่งมีจุดมุ่งหมายเพื่อสร้างฐานของชุมชนในการดูแลช่วยเหลือคุ้มครองและพิทักษ์สิทธิ แก่ผู้สูงอายุ,ผู้ป่วยโรคเรื้อรังและผู้พิการในชุมชน ที่ประสบปัญหาความทุกข์ยากเดือดร้อน แล้วยังครอบคลุมถึงการดูแลสอดส่องและส่งเสริมคุณภาพชีวิต ผู้สูงอายุทุกคนในในชุมชน ทำให้ชุมชนมีจิตอาสาดูแลผู้สูงอายุ และมีความมั่นคงในการดำเนินที่จะให้ให้การดูแลช่วยเหลือผู้สูงอายุทุกคนได้ในระยะยาว

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อฟื้นฟูความรู้จิตอาสาดูแลผู้สูงอายุ ผู้ป่วยเรื้อรังและผู้พิการ
  2. เพื่อสร้างเสริมสุขภาพสำหรับผู้สูงอายุ ผู้ป่วยเรื้อรังและผู้พิการ ให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
  3. เพื่อให้การดูแลผู้สูงอายุประเภท 2 (ติดบ้าน) ประเภท 3 (ติดเตียง) และผู้พิการได้รับการดูแล

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ค้นหาอาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุเพื่อเป็นจิตอาสาดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ผู้พิการ
  2. ฝึกอบรมอาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุและฟื้นฟูอาสาสมัครคนเดิมให้มีความรู้ในการฝึกปฏิบัติในชุมชนอย่างมีศักยภาพอาสาสมัคร จำนวน 60 คน
  3. ฝึกปฏิบัติเยี่ยมบ้านในชุมชนของอาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุและฟื้นฟูสภาพผู้สูงอายุพร้อมลงรายงาน
  4. ส่งต่อรายที่ผิดปกติตามแนวทางการปฏิบัติการ เยี่ยมบ้านของ รพ.สต.
  5. ติดตามและประเมินการดำเนินงานของอาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุ ผู้ป่วยโรคเรื้อรังและผู้พิการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 60
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. มีอาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุในชุมชน มีแนวปฏิบัติใน การดูแลผู้สูงอายุ , ผู้ป่วยโรคเรื้อรังและคนพิการในระยะยาว
  2. มีศูนย์ดูแลผู้สูงอายุและคนพิการได้รับความรู้ ความเข้าใจ มีทัศนะ คติที่ดี ในการที่จะดูแลผู้สูงอายุ ,ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง และคนพิการที่เจ็บป่วยในครอบครัวและชุมชน
  3. ผู้สูงอายุ , ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง และคนพิการที่ไม่สามารถช่วยเหลือตัวเองได้ และขาดการ ดูแล มีผู้ให้การดูแล
  4. ผู้สูงอายุ , ผู้ป่วยโรคเรื้อรังและคนพิการ สามารถดำรงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างเป็นสุข และมีคุณภาพชีวิตที่ดี

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อฟื้นฟูความรู้จิตอาสาดูแลผู้สูงอายุ ผู้ป่วยเรื้อรังและผู้พิการ
ตัวชี้วัด : จิตอาสาดูแลผู้สูงอายุ มีความรู้ในการดูแลผู้สูงอายุ ผู้ป่วยเรื้อรังและผู้พิการ ร้อยละ 100
80.00 100.00

 

2 เพื่อสร้างเสริมสุขภาพสำหรับผู้สูงอายุ ผู้ป่วยเรื้อรังและผู้พิการ ให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
ตัวชี้วัด : ให้จิตอาสาช่วยดูแลผู้สูงอายุ ผู้ป่วยเรื้อรังและผู้พิการ
80.00 50.00

 

3 เพื่อให้การดูแลผู้สูงอายุประเภท 2 (ติดบ้าน) ประเภท 3 (ติดเตียง) และผู้พิการได้รับการดูแล
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุประเภท 2 (ติดบ้าน) ประเภท 3 (ติดเตียง) และผู้พิการได้รับการดูแล ร้อยละ 100
80.00 100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 60
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 60
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อฟื้นฟูความรู้จิตอาสาดูแลผู้สูงอายุ ผู้ป่วยเรื้อรังและผู้พิการ (2) เพื่อสร้างเสริมสุขภาพสำหรับผู้สูงอายุ ผู้ป่วยเรื้อรังและผู้พิการ ให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น (3) เพื่อให้การดูแลผู้สูงอายุประเภท 2 (ติดบ้าน) ประเภท 3 (ติดเตียง) และผู้พิการได้รับการดูแล

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ค้นหาอาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุเพื่อเป็นจิตอาสาดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ผู้พิการ (2) ฝึกอบรมอาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุและฟื้นฟูอาสาสมัครคนเดิมให้มีความรู้ในการฝึกปฏิบัติในชุมชนอย่างมีศักยภาพอาสาสมัคร จำนวน 60 คน (3) ฝึกปฏิบัติเยี่ยมบ้านในชุมชนของอาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุและฟื้นฟูสภาพผู้สูงอายุพร้อมลงรายงาน (4) ส่งต่อรายที่ผิดปกติตามแนวทางการปฏิบัติการ เยี่ยมบ้านของ รพ.สต. (5) ติดตามและประเมินการดำเนินงานของอาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุ ผู้ป่วยโรคเรื้อรังและผู้พิการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการดูแลผู้สูงอายุ / ผู้พิการ/ผู้ด้อยโอกาสที่มีภาวะพึ่งพิงโดยชุมชน จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ L-65-8428-03-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางน้องนุช หนูนาค )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด