กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาลูปัง


“ โครงการเฝ้าระวังโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ”

ตำบลกาลูปัง อำเภอรามัน จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางวรรณี เรืองมณี

ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

ที่อยู่ ตำบลกาลูปัง อำเภอรามัน จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 65-L4155-05-011 เลขที่ข้อตกลง 11/2565

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเฝ้าระวังโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกาลูปัง อำเภอรามัน จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาลูปัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวังโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเฝ้าระวังโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกาลูปัง อำเภอรามัน จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 65-L4155-05-011 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2565 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 27,016.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาลูปัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เป็นตระกูลเดียวกับโรคซาร์ส ที่ระบาดเมื่อปี 2545 ทำให้เกิดโรคทางเดินหายใจอักเสบเฉียบพลันปอดอักเสบ และมีภาวะแทรกซ้อนที่ทำเสียชีวิตได้ พบแหล่งกำเนิดจากเมืองอู่ฮั่น มลฑลหูเป่ย ประเทศจีน ในประเทศไทยได้มีการระบาดของโรคนี้เป็นวงกว้างในช่วงเดือนกุมภาพันธ์- เดือนมิถุนายน 2563 และเริ่มควบคุมได้ จากการร่วมมือของทุกหน่วยงาน โดยไม่พบการระบาดภายในประเทศเป็นเวลาหลายเดือน จนกระทั่งเมื่อวันที่ 21 ธันวาคม 2563 ได้พบการระบาดระลอกใหม่ ในจังหวัดสมุทรสาคร และกระจายไปในพื้นที่หลายจังหวัด ข้อมูลจากรายงานสถานการณ์ Covid-19 ในประเทศไทยของศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินกระทรวงสาธารณสุข ณ วันที่ 26 ธันวาคม 2563 มีผู้ป่วยยืนยันสะสม 6020 ราย โดยพบผู้ติดเชื้อภายในประเทศ และได้เพิ่มขึ้นจากเดิมอย่างรวดเร็ว จากสถานการณ์ข้างต้น เพื่อเป็นการป้องกันการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโครานา 2019 (COVID-19) มาตรการที่สำคัญ คือการป้องกันตนเองมิให้สัมผัสกับโรค โดยการหลีกเลี่ยงการอยู่ในสถานที่แออัด หรือมีมลภาวะ และไม่อยู่ใกล้ชิดกับผู้ป่วยไอหรือจาม รวมถึงการสวมหน้ากากอนามัย การปฏิบัติตนเองอย่างเคร่งครัดในการป้องกันโรค การคัดกรองผู้รับบริการหรือประชาชนที่ใช้บริการในสถานที่ที่มีผู้คนจำนวนมาก รวมทั้งเน้นยำให้สถานบริการต่างๆมีมาตรการในการป้องกันอย่างถูกต้อง องค์การบริหารส่วนตำบลกาลูปัง รับผิดชอบดูแลเกี่ยวกับภาวะฉุกเฉินด้านสาธารณสุข จึงต้องดำเนินการจัดทำโครงการ โครงการเฝ้าระวังโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)ประจำปีงบประมาณ 2565 เพื่อลดผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชน ตลอดจนป้องกันไม่ให้เกิดการแพร่ระบาดของโรคในวงกว้าง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อเพิ่มศักยภาพ ในการดูแลเฝ้าระวังป้องกันตนเองเรื่องโรคติดเชื้อไวรัวโคโรนา 2019 (COVID-19) ให้กับประชาชนในพื้นที่ บุคลากรในหน่วยงาน 2. เพื่อให้มีทรัพยากร งบประมาณ พอเพียงต่อการสนับสนุนการดำเนินงานเฝ้าระวัง สอบสวนและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) 3. เพื่อจัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ในการป้องกันเผ้าระวังตรวจสอบของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดซื้อชุดตรวจ ATK จำนวน 335 ชุด/65 บาท
  2. ซื้อเจลแอลกอฮอล์ ขนาด 450 ml จำนวน 20 ขวด/85 บาท
  3. จัดซื้อถุงมือยางอนามัย จำนวน 1 กล่อง/141 บาท
  4. จัดซื้อหน้ากากอนามัย จำนวน 40 กล่อง/85บาท
  5. จัดซื้อชุดตรวจ ATK จำนวน 335 ชุด/65 บาท
  6. จัดซื้อหน้ากากอนามัย จำนวน 40 กล่อง/85บาท
  7. ซื้อเจลแอลกอฮอล์ ขนาด 450 ml จำนวน 20 ขวด/85 บาท
  8. จัดซื้อถุงมือยางอนามัย จำนวน 1 กล่อง/141 บาท

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. กลุ่มเป้าหมายมีความมั่นใจและ สามารถป้องกันตนเองจากโรคติดต่อได้ และรู้เท่าทัน
  2. กลุ่มเป้าหมายเกิดความตระหนัก เห็นความสำคัญและสามารถป้องกันโรคระบาดโดยเริ่มจากตนเองและร่วมป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Covid - 19)
  3. กลุ่มเป้าหมายมีเครื่องมือป้องกัน ตรวจสอบ การเกิดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Covid - 19)

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อเพิ่มศักยภาพ ในการดูแลเฝ้าระวังป้องกันตนเองเรื่องโรคติดเชื้อไวรัวโคโรนา 2019 (COVID-19) ให้กับประชาชนในพื้นที่ บุคลากรในหน่วยงาน 2. เพื่อให้มีทรัพยากร งบประมาณ พอเพียงต่อการสนับสนุนการดำเนินงานเฝ้าระวัง สอบสวนและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) 3. เพื่อจัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ในการป้องกันเผ้าระวังตรวจสอบของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อเพิ่มศักยภาพ ในการดูแลเฝ้าระวังป้องกันตนเองเรื่องโรคติดเชื้อไวรัวโคโรนา 2019 (COVID-19) ให้กับประชาชนในพื้นที่ บุคลากรในหน่วยงาน  2. เพื่อให้มีทรัพยากร งบประมาณ พอเพียงต่อการสนับสนุนการดำเนินงานเฝ้าระวัง สอบสวนและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)  3. เพื่อจัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ในการป้องกันเผ้าระวังตรวจสอบของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดซื้อชุดตรวจ ATK จำนวน 335 ชุด/65 บาท (2) ซื้อเจลแอลกอฮอล์ ขนาด 450 ml จำนวน 20 ขวด/85 บาท (3) จัดซื้อถุงมือยางอนามัย จำนวน 1 กล่อง/141 บาท (4) จัดซื้อหน้ากากอนามัย จำนวน 40 กล่อง/85บาท (5) จัดซื้อชุดตรวจ ATK จำนวน 335 ชุด/65 บาท (6) จัดซื้อหน้ากากอนามัย จำนวน 40 กล่อง/85บาท (7) ซื้อเจลแอลกอฮอล์ ขนาด 450 ml จำนวน 20 ขวด/85 บาท (8) จัดซื้อถุงมือยางอนามัย จำนวน 1 กล่อง/141 บาท

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเฝ้าระวังโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 65-L4155-05-011

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางวรรณี เรืองมณี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด