กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล อบต.บาโงสะโต


“ โครงการรณรงค์การคัดแยกขยะ ประจำปีงบประมาณ 2565 ”

ตำบลบาโงสะโต อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นายมัคตาร์ ดาราโอ๊ะ

ชื่อโครงการ โครงการรณรงค์การคัดแยกขยะ ประจำปีงบประมาณ 2565

ที่อยู่ ตำบลบาโงสะโต อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 65-L8423-02-04 เลขที่ข้อตกลง 06/2565

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 31 พฤษภาคม 2565 ถึง 24 มิถุนายน 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการรณรงค์การคัดแยกขยะ ประจำปีงบประมาณ 2565 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบาโงสะโต อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล อบต.บาโงสะโต ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการรณรงค์การคัดแยกขยะ ประจำปีงบประมาณ 2565



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการรณรงค์การคัดแยกขยะ ประจำปีงบประมาณ 2565 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบาโงสะโต อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 65-L8423-02-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 31 พฤษภาคม 2565 - 24 มิถุนายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 40,200.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล อบต.บาโงสะโต เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ในปัจจุบันปัญหาเรื่องขยะมูลฝอยนับว่าเป็นปัญหาสำคัญทั้งปัญหาระดับประเทศ สาเหตุเนื่องมาจาก ประชากรในประเทศมีจำนวนมากขึ้น สถานประกอบการต่างๆมีมากขึ้น และสิ่งที่ตามมาอย่างเลี่ยงไม่ได้ก็ คือ ขยะมูลฝอย ย่อมมีจำนวนมากขึ้นตามไปด้วย ส่งผลให้มีขยะตกค้างเป็นจำนวนมากในแต่ละวัน ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและสภาพความเป็นอยู่ในชุมชนมากมาย ได้แก่ ชุมชนสกปรกไม่น่ามอง เสียทัศนียภาพ ส่งกลิ่นเหม็นรบกวน เป็นแหล่งเพาะพันธุ์สัตว์ และพาหะนำโรคต่าง ๆ เช่นหนู แมลงสาบ แมลงวันทั้งยังเป็นแหล่งแพร่เชื้อโรคโดยตรง เช่นอหิวาตกโรค อุจาระร่วง โรคผิวหนัง บาดทะยัก โรคทางเดินหายใจ เกิดการปนเปื้อนของสารพิษ เช่น ตะกั่ว ปรอท ลงสู่พื้นดินและแหล่งน้ำ แหล่งน้ำเน่าเสีย ท่อระบายน้ำอุดตัน อันเป็นสาเหตุของปัญหาน้ำท่วม ปัญหามลพิษทางอากาศ เช่นฝุ่นละออง เขม่า ควัน จากการเผาขยะ ซึ่งขยะบางชนิดกำจัดยาก ไม่ย่อยสลาย ทำให้ตกค้างสู่สิ่งแวดล้อม    โดยการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมในการอุปโภคบริโภคของประชาชน การคัดแยกขยะก่อนทิ้งในครัวเรือน จะช่วยลดปริมาณขยะในครัวเรือน และลดปัญหาขยะที่ตกค้างตามชุมชนทำให้สิ่งแวดล้อมสะอาดได้เป็นอย่างมาก อีกทั้งยังเป็นการลดการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ ลดการใช้พลังงานและลดมลพิษที่จะเกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ดังนั้นมีความจำเป็นที่ประชาชนจะต้องร่วมมือกันลดและแก้ไขปัญหาขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้นในชุนชน ด้วยการคัดแยกขยะให้ถูกประเภทและนำวัสดุที่สามารถนำกลับมาใช้ใหม่ได้เข้าสู่กระบวนการ รีไซเคิลเพื่อใช้ทรัพยากรธรรมชาติได้อย่างคุ้มค่าและยั่งยืนต่อไป ตามนโยบายรัฐบาล ได้มีมติคณะรัฐมนตรี วันที่ ๒๐ กันยายน ๒๕๕๙ มอบภาระกิจการจัดการขยะให้เป็นหน้าที่หลักของหลักประกันสุขภาพองค์กรปกครองท้องถิ่น ปฏิบัติการตามแผนปฏิบัติการของกระทรวงมหาดไทย “ประเทศไทย ไร้ขยะ” ตามแนวทางประชารัฐ กระทรวงมหาดไทยโดยกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น ได้กำหนดแนวทางการปฏิบัติงานด้านการบริหารขยะมูลฝอย “จังหวัดสะอาด” โดยมีเป้าหมาย ๑.ปริมาณขยะมูลฝอยที่เข้าสู่ระบบการจัดการปลายทางลดลง ๒.ขยะอันตรายในชุมชนได้รับการคัดแยก ๓.ทุกพื้นที่ทุกภาคส่วนภายใต้หลักประชารัฐมีการลดและคัดแยกขยะมูลฝอย ๔.ขยะมูลฝอย ให้หมู่บ้าน/ชุมชน ต้นแบบ ลดและคัดแยกขยะมูลฝอย ๕.มีการนำขยะมูลฝอยไปใช้ให้เกิดประโยชน์และสร้างมูลค่า ด้วยประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติเรื่องหลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 ข้อ 10 (2) เพื่อสนับสนุนและส่งเสริมการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรคขององค์กรหรือกลุ่มประชาชน หรือหน่วยงานอื่น นั้น     กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ตำบลบาโงสะโต โดยกลุ่มแกนนำสุขภาพชุมชนหมู่ที่ 7 ตำบลบาโงสะโต จึงกำหนดจัดโครงการโครงการรณรงค์การคัดแยกขยะ เพื่อเป็นการดำเนินงานที่สอดรับ กับนโยบายทุกระดับ และเร่งแก้ไขปัญหาขยะมูลฝอยก่อนเกิดปัญหาในด้านอื่นตามมา ให้เกิดการบริหาร จัดการข้อมูลขยะมูลฝอยในระดับครัวเรือนที่มีประสิทธิภาพ หวังเพื่อลดปริมาณมูลฝอยในตำบลบาโงสะโตต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ความรู้และความเข้าใจในการคัดแยกขยะมูลฝอยในครัวเรือน
  2. เพื่อส่งเสริมให้มีการคัดแยกขยะอินทรีย์หรือขยะเปียกในครัวเรือน
  3. เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารการจัดการขยะมูลฝอย สิ่งปฏิกูลต่างๆ
  4. เพื่อลดปริมาณขยะ และช่วยดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่ประชาชน ตามโครงการโครงการรณรงค์การคัดแยกขยะ
  2. กิจกรรมส่งเสริมให้มีการจัดทำถังขยะเปียกลดโลกร้อน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 150
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ประชาชนมีความรู้และความเข้าใจในการคัดแยกขยะมูลฝอยในครัวเรือน
  2. ประชาชนมีการคัดแยกขยะอินทรีย์หรือขยะเปียกในครัวเรือน
  3. ปริมาณขยะในชุมชนลดน้อยลง
  4. ชุมชนสะอาด และน่าอยู่ขึ้น

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ความรู้และความเข้าใจในการคัดแยกขยะมูลฝอยในครัวเรือน
ตัวชี้วัด :
0.00

 

2 เพื่อส่งเสริมให้มีการคัดแยกขยะอินทรีย์หรือขยะเปียกในครัวเรือน
ตัวชี้วัด :
0.00

 

3 เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารการจัดการขยะมูลฝอย สิ่งปฏิกูลต่างๆ
ตัวชี้วัด :
0.00

 

4 เพื่อลดปริมาณขยะ และช่วยดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 150
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 150
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ความรู้และความเข้าใจในการคัดแยกขยะมูลฝอยในครัวเรือน (2) เพื่อส่งเสริมให้มีการคัดแยกขยะอินทรีย์หรือขยะเปียกในครัวเรือน (3) เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารการจัดการขยะมูลฝอย สิ่งปฏิกูลต่างๆ (4) เพื่อลดปริมาณขยะ และช่วยดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่ประชาชน ตามโครงการโครงการรณรงค์การคัดแยกขยะ (2) กิจกรรมส่งเสริมให้มีการจัดทำถังขยะเปียกลดโลกร้อน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการรณรงค์การคัดแยกขยะ ประจำปีงบประมาณ 2565 จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 65-L8423-02-04

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายมัคตาร์ ดาราโอ๊ะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด