กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเกาะนางคำ


“ ป้องกัน ควบคุม โรคติดต่อในเด็กปฐมวัย ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านเกาะนางคำเหนือ ปีงบประมาณ 2565 ”

ตำบลเกาะนางคำ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นางสกะ หมานหมิด

ชื่อโครงการ ป้องกัน ควบคุม โรคติดต่อในเด็กปฐมวัย ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านเกาะนางคำเหนือ ปีงบประมาณ 2565

ที่อยู่ ตำบลเกาะนางคำ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 65-L3333-03-11 เลขที่ข้อตกลง 10/2565

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 มิถุนายน 2565 ถึง 30 กันยายน 2565


กิตติกรรมประกาศ

"ป้องกัน ควบคุม โรคติดต่อในเด็กปฐมวัย ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านเกาะนางคำเหนือ ปีงบประมาณ 2565 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเกาะนางคำ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเกาะนางคำ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ป้องกัน ควบคุม โรคติดต่อในเด็กปฐมวัย ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านเกาะนางคำเหนือ ปีงบประมาณ 2565



บทคัดย่อ

โครงการ " ป้องกัน ควบคุม โรคติดต่อในเด็กปฐมวัย ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านเกาะนางคำเหนือ ปีงบประมาณ 2565 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเกาะนางคำ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 65-L3333-03-11 ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 มิถุนายน 2565 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 7,740.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเกาะนางคำ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เนื่องด้วยในปัจจุบันนี้ มีโรคติดต่อมากมายที่เกิดขึ้นและแพร่ระบาดอย่างรวดเร็ว ซึ่งเป็นเรื่องที่ ครู ผู้ปกครอง กรรมการ ผู้ประกอบอาหารและ ผู้ทีเกี่ยวข้องจะต้องต้องตระหนักและเห็นความสำคัญในโรคที่เกิดขึ้นในยุคปัจจุบัน เช่นโรคโควิด 19 ที่กำลังระบาดอยู่ในขณะนี้และโรคที่เกิดขึ้น ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ซึ่งมีเด็กรวมกันเป็นจำนวนมาก เมื่อเจ็บป่วยมักจะแพร่เชื้อโรคได้ง่ายและรวดเร็ว เนื่องจากเด็กจะมีภูมิคุ้มกันต่ำจึงมีโอกาสป่วยได้บ่อย จากการป้องกันที่ไม่ถูกวิธีและไม่เข้มงวด ซึ่งโรคเกล่านี้มาจากการสัมผัสโดยตรง การอยู่ร่วมกัน เล่นด้วยกัน กินนอนด้วยกัน ได้แก่ โรคโควิด 19 โรคระบบทางเดินหายใจ โรคมือเท้าปาก โรคอุจระร่วงเฉียบพลัน โรคตาแดง ซึ่งโรคเหล่านี้ก่อให้เกิดปัญหาต่อสุขภาพและการเรียนรู้ของเด็ก เป็นอย่างยิ่งและจากการระบาดของโควิด 19 ช่วงปีปลายปี 2593 และปี2564 ซึ่งเกิดระบาดในชุมชน หมู่ที่ 5 ตำบลเกาะนางคำถึงร้อยละ 70 มีทั้ง ผู้สูงอายุ วัยกลางคน วัยทำงาน วัยเรียนและเด็กก่อนวัยเรียน ทำให้ในชุมชนต้องเฝ้าระวัง และควบคุมไม่ให้เกิดการระบาดขึ้นอีกในชุมชน ดังนั้นศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านเกาะนางคำเหนือ ก็เป็นสถานที่หนึ่งที่ต้องเฝ้าระวัง พร้อมทั้งส่งเสริมให้เด็กรู้จักการป้องกันตนเองอย่างถูกวิธี และต้องทำให้เป็นกิจวัตรเสมือนเป็นส่วนหนึ่งของการใช้ชีวิตประจำวัน ดังนั้นเพื่อให้เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านเกาะนางคำเหนือ ปลอดโรค ปลอดภัย และลดการเกิดโรคติดต่อและให้เด็กมีสุขอนามัยที่ดี ทางศูนย์จึงจัดโครงการ ส่งเสริมสุขภาพและอนามัยของเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านเกาะนางคำเหนือขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีวัสดุอุปกรณ์ในการป้องกันโรคติดต่อต่างๆ
  2. เพื่อให้เด็กปฐมวัยรู้จักการดูแลและป้องกันโรคติดต่อได้อย่างถูกวิธี
  3. เพื่อลดปัญหาโรคติดต่อ ที่พบบ่อยในเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านเกาะนางคำเหนือ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดหาวัสดุ อุปกรณ์ที่ใช้สำหรับป้องกันโรคติดต่อในเด็ก ได้แก่ สเปรแอลกอฮอร์ หน้ากากอนามัยสำหรับเด็ก ถุงมือ น้ำยาล้างมือ และอ่างสำหรับล้างมือ
  2. อบรมให้ความรู้ สาธิต และฝึกปฏิบัติ การล้างมือในการป้องกันตนเองจากโรคติดต่อในเด็ก
  3. ติดตั้งอ่างล้างมือตามจุดต่างๆบริเวณศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก เพื่อให้สะดวกแก่เด็กและครู
  4. จัดให้มีจุดวางสเปรแอลกอฮอร์สำหรับเด็ก ครู และผู้ปกครอง
  5. ติดตาม ประเมินผลการดำเนินการและรายงานผลการดำเนินงาน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 40
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ครู ผู้ดูแลเด็ก เด็ก ผู้ประกอบอาหารและผู้ที่เกี่ยวข้อง มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับโรคติดต่อ โรคที่เกิดบ่อยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
  2. เด็กปฐมวัยได้รับการดูแลและป้องกันได้อย่างถูกวิธีมากยิ่งขึ้น
  3. เด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีสุขอนามัยที่ดีทุกคน

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

  1. ครู ผู้ดูแลเด็ก เด็ก ผู้ประกอบอาหารและผู้ที่เกี่ยวข้อง มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับโรคติดต่อ โรคที่เกิดบ่อยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
  2. เด็กปฐมวัยได้รับการดูแลและป้องกันได้อย่างถูกวิธีมากยิ่งขึ้น
  3. เด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีสุขอนามัยที่ดีทุกคน

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีวัสดุอุปกรณ์ในการป้องกันโรคติดต่อต่างๆ
ตัวชี้วัด : เด็ก ครู ผู้ดูแลเด็ก แม่ครัว ผู้ปกครอง ผู้ที่เกี่ยวข้อง ได้ใช้วัสดุอุปกรณ์ในการป้องกันโรคติดต่อต่าง ๆ ร้อยละ 100
0.00

 

2 เพื่อให้เด็กปฐมวัยรู้จักการดูแลและป้องกันโรคติดต่อได้อย่างถูกวิธี
ตัวชี้วัด : เด็กปฐมวัยรู้จักการดูแลและป้องกันโรคติดต่อได้อย่างถูกวิธี ร้อยละ 85
0.00

 

3 เพื่อลดปัญหาโรคติดต่อ ที่พบบ่อยในเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านเกาะนางคำเหนือ
ตัวชี้วัด : ลดปัญหาโรคติดต่อ ที่พบบ่อยในเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านเกาะนางคำเหนือ คิดเป็น ร้อยละ 85
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 40 44
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 40
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีวัสดุอุปกรณ์ในการป้องกันโรคติดต่อต่างๆ (2) เพื่อให้เด็กปฐมวัยรู้จักการดูแลและป้องกันโรคติดต่อได้อย่างถูกวิธี (3) เพื่อลดปัญหาโรคติดต่อ ที่พบบ่อยในเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านเกาะนางคำเหนือ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดหาวัสดุ อุปกรณ์ที่ใช้สำหรับป้องกันโรคติดต่อในเด็ก ได้แก่ สเปรแอลกอฮอร์ หน้ากากอนามัยสำหรับเด็ก ถุงมือ น้ำยาล้างมือ และอ่างสำหรับล้างมือ (2) อบรมให้ความรู้ สาธิต และฝึกปฏิบัติ การล้างมือในการป้องกันตนเองจากโรคติดต่อในเด็ก (3) ติดตั้งอ่างล้างมือตามจุดต่างๆบริเวณศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก เพื่อให้สะดวกแก่เด็กและครู (4) จัดให้มีจุดวางสเปรแอลกอฮอร์สำหรับเด็ก ครู และผู้ปกครอง (5) ติดตาม ประเมินผลการดำเนินการและรายงานผลการดำเนินงาน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ป้องกัน ควบคุม โรคติดต่อในเด็กปฐมวัย ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านเกาะนางคำเหนือ ปีงบประมาณ 2565 จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 65-L3333-03-11

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสกะ หมานหมิด )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด