กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาละ


“ โครงการร่วมใจ ลด ละ เลิกบุหรี่ ปี 2565 ”

ตำบลบาละ อำเภอกาบัง จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นายฮาฟีซ สอละซอ

ชื่อโครงการ โครงการร่วมใจ ลด ละ เลิกบุหรี่ ปี 2565

ที่อยู่ ตำบลบาละ อำเภอกาบัง จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 65-L4117-1-02 เลขที่ข้อตกลง 6

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 พฤษภาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการร่วมใจ ลด ละ เลิกบุหรี่ ปี 2565 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบาละ อำเภอกาบัง จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาละ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการร่วมใจ ลด ละ เลิกบุหรี่ ปี 2565



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการร่วมใจ ลด ละ เลิกบุหรี่ ปี 2565 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบาละ อำเภอกาบัง จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 65-L4117-1-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 พฤษภาคม 2565 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 19,960.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาละ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

บุหรี่เป็นสาเหตุหนึ่งของการเสียชีวิตที่สำคัญ ซึ่งองค์การอนามัยโลกรายงานว่าประชากรโลกเสียชีวิตจากการสูบบุหรี่ปีละ 4 ล้านคน โดยบุหรี่ / ยาสูบ เป็นสาเหตุสำคัญที่ทำให้เกิดโรคมะเร็งปอด โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง โรคหัวใจและหลอดเลือด เส้นโลหิตในสมองแตกหรือตีบ ซึ่งเป็นโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCD) ที่ทำให้สูญเสียค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลและมีผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของผู้ป่วย การบำบัดผู้สูบบุหรี่ / ยาสูบเพื่อให้เลิกสูบบุหรี่ / ยาสูบและการป้องกันการสูบบุหรี่ / ยาสูบในผู้ที่ยังไม่สูบบุหรี่ จึงเป็นการลดการเกิดโรคที่สำคัญดังกล่าว และเป็นการลดการสูญเสียทางเศรษฐกิจที่เกิดจากการเป็นโรคที่มีสาเหตุจากการสูบบุหรี่ / ยาสูบ จากสถิติพบว่าอัตราการสูบบุหรี่ปัจจุบันของประชากรไทยอายุ 15 ปีขึ้นไป ในจังหวัดยะลามีถึง 17.88 (สำนักงานสถิติแห่งชาติ) ประชากรกลุ่มเป้าหมายในตำบลบาละ พบว่ามีอัตราการสูบบุหรี่ / ยาสูบถึง 19.48 จากประชากร 7,246 คน (ข้อมูล HDC สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดยะลา) พบว่าการสูบบุหรี่เป็นสาเหตุทำให้ป่วยเป็นโรคเรื้อรังได้ง่าย กลุ่มเป้าหมายดังกล่าวควรได้รับการบำบัดรักษาโดยการให้คำปรึกษาเพื่อเปลี่ยนพฤติกรรมและการบำบัดด้วยยา พยาบาลเป็นบุคลากรทีมสุขภาพที่มีบทบาทในการให้คำปรึกษาเพื่อบำบัดผู้สูบบุหรี่ / ยาสูบให้เลิกสูบ แต่พบว่าผู้สูบมีจำนวนน้อยที่เข้าถึงระบบบริการเลิกของคลินิกเลิกบุหรี่ / ยาสูบอาจเนื่องจากปัญหาที่ระบบการคัดกรองและการส่งต่อผู้ป่วยของแต่ละคลินิกมาที่คลินิกเลิกยาสูบ ประกอบกับเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบคลินิกเลิกยาสูบมีภาระงานอื่น ๆ ร่วมด้วยจึงทำให้บางครั้งผู้มารับบริการมาแล้วไม่พบผู้ให้บริการ จึงต้องเดินทางกลับ ทำให้เสียเวลาและรู้สึกว่าการเข้าถึงบริการคลินิกเลิกยาสูบยุ่งยากเลยไม่อยากมารับบริการ จากเหตุผลดังกล่าว โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านคลองน้ำใสจึงจัดทำโครงการร่วมใจ ลด ละ เลิกบุหรี่ ปี 65เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายสมัครใจจะเลิกยาสูบ สามารถเข้าถึงบริการได้ง่ายและเป็นกันเอง เพียงแค่สมัครใจจะเลิกยาสูบ ทางทีมงานการบำบัดรักษาจะลงไปให้บริการถึงพื้นที่ในชุมชนของท่าน เพื่อลดปัญหา ลดค่าใช้จ่ายในการเดินทางและสามารถเข้าถึงบริการ เลิกยาสูบได้ง่ายสะดวกขึ้น และดึงชุมชนให้มามีส่วนร่วมในการแก้ปัญหาการเข้าถึงบริการเลิกยาสูบ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมพัฒนาการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายโดยการจัดอบรมแกนนำในชุมชน
  2. กิจกกรม อบรมให้ความรู้แก่ประชาชนเรื่องบุหรี่และผลิตภัณฑ์ยาสูบ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 24
กลุ่มวัยทำงาน 12
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 80
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจ ตระหนักถึงโทษภัยบุหรี่ และปรับพฤติกรรมลด เลิกบุหรี่
2ผู้เข้ารับการอบรมร่วมเข้าสมัครคลินิกเลิกบุหรี่


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมพัฒนาการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายโดยการจัดอบรมแกนนำในชุมชน

วันที่ 10 สิงหาคม 2565

กิจกรรมที่ทำ

-

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-

 

12 0

2. กิจกกรม อบรมให้ความรู้แก่ประชาชนเรื่องบุหรี่และผลิตภัณฑ์ยาสูบ

วันที่ 11 สิงหาคม 2565

กิจกรรมที่ทำ

-

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-

 

80 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 116
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 24
กลุ่มวัยทำงาน 12
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 80
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมพัฒนาการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายโดยการจัดอบรมแกนนำในชุมชน (2) กิจกกรม อบรมให้ความรู้แก่ประชาชนเรื่องบุหรี่และผลิตภัณฑ์ยาสูบ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการร่วมใจ ลด ละ เลิกบุหรี่ ปี 2565 จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 65-L4117-1-02

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายฮาฟีซ สอละซอ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด