กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ควนโดน


“ โครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดต่อในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลควนโดน ”

ตำบลควนโดน อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นางสาวสุดา แซะอาหลี

ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดต่อในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลควนโดน

ที่อยู่ ตำบลควนโดน อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 65-L8406-02-03 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2565 ถึง 31 สิงหาคม 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดต่อในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลควนโดน จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลควนโดน อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ควนโดน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดต่อในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลควนโดน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดต่อในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลควนโดน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลควนโดน อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 65-L8406-02-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2565 - 31 สิงหาคม 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 30,000.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ควนโดน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 82 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เด็กที่มีอายุต่ำกว่า 5 ปี ซึ่งถูกฝากเลี้ยงไว้ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ซึ่งเป็นสถานที่ที่เด็กอยู่ร่วมกันเป็นจำนวนมาก เมื่อเกิดเจ็บป่วยจะสามารถแพร่เชื้อโรคติดต่อสู่กันได้ง่าย ซึ่งเด็กเล็กนั้นมีภูมิต้านทานต่ำจะป่วยได้ง่าย โรคที่พบบ่อยในเด็กเล็กได้แก่ โรคติดเชื้อทางเดินหายใจโรคมือ เท้า ปาก โรคอุจจาระร่วงเฉียบพลัน โรคไข้หวัด โรคโควิด-19 เป็นต้น ซึ่งส่งผลกระทบต่อพัฒนาการสุขภาพโดยรวมของเด็ก การระบาดของโรคมือ เท้า ปาก และโรคอื่นๆ อาจต้องปิดโรงเรียน เสียค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาล ผู้ปกครองต้องหยุดงาน เพื่อดูแลเด็กที่บ้าน ทำให้ขาดรายได้ จึงจำเป็นต้องดำเนินงานการเฝ้าระวัง การป้องกันและควบคุมโรคในศูนย์เด็กเล็กให้มีประสิทธิภาพ ซึ่งนอกจากจะช่วยลดการเกิดโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก โรคมือ เท้า ปาก และโรคอุจจาระร่วงเฉียบพลันแล้ว ยังเป็นการเตรียมความพร้อมรับมือกับการระบาดของโรคติดเชื้ออื่นๆ ซึ่งอาจเกิดขึ้นได้ในอนาคต การดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคติดต่อในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก คือการดำเนินงานเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดต่อ เพื่อไม่ให้แพร่กระจายและลดการป่วยของเด็กเล็กไม่ให้เกิดการแพร่ระบาดในศูนย์เด็กเล็ก โดยมีมาตรการการดำเนินงาน 3 ข้อ 1) คือเฝ้าระวังป้องกันโรคล่วงหน้า โดยการคัดกรองอาการป่วย2) ควบคุมโรคที่มีประสิทธิภาพ โดยการแยกเด็กป่วย และทำความสะอาดห้องเรียน ของเล่น ที่นอนรวมทั้งอุปกรณ์เครื่องใช้ภายในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก3) การมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง ชุมชนและท้องถิ่น และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง กองการศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม มีเป้าหมายในการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคติดต่อในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กให้ปลอดโรค ไม่ให้เกิดการระบาดของโรคและลดอัตราการป่วยของเด็กในพื้นที่จึงได้จัดโครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดต่อในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลควนโดนนี้ขึ้นมา

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ครูและบุคลากรทางการศึกษา ผู้ปกครอง มีความรู้ในเรื่องโรคติดต่อและการป้องกันโรค
  2. เพื่อให้ครูและบุคลากรทางการศึกษา ผู้ปกครอง มีทักษะในการจัดการสิ่งแวดล้อมและคัดกรองอาการป่วยของโรคติดต่อที่ถูกต้อง
  3. เพื่อให้ครูและบุคลากรทางการศึกษา ผู้ปกครอง มีทักษะในการดูแลเด็กเบื้องต้น
  4. เพื่อสร้างเครือข่ายในการเฝ้าระวังโรคติดต่อในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. เฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดต่อในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลควนโดน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 67
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 82
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. เด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กป่วยด้วยโรคติดต่อลดลง
  2. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กจัดกิจกรรมเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคติดต่ออย่างต่อเนื่อง 3.ครูและบุคลากรทางการศึกษา ผู้ปกครอง มีความรู้เรื่องโรคติดต่อและการป้องกันโรคติดต่อเพิ่มมากขึ้น
  3. มีเครือข่ายศูนย์พัฒนาเด็กเล็กการเฝ้าระวังโรคติดต่อ

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. เฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดต่อในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลควนโดน

วันที่ 27 สิงหาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.อบรมให้ความรู้แก่ ครูและบุคลากรทางการศึกษา ผู้ปกครอง ในประเด็นต่อไปนี้ 1.1 สถานการณ์โรคติดต่อในเด็กปฐมวัยในพื้นที่ 1.2 ความรู้เรื่องโรคติดต่อที่สำคัญ เช่น อุจจาระร่วง ไข้หวัดใหญ่ โรคมือ เท้า ปาก โรคโควิด-19 การเฝ้าระวังโรค และการป้องกันการควบคุมโรค         1.3 สิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการเกิดโรค ทักษะในการจัดการสิ่งแวดล้อม การล้างทำความสะอาดของเล่น อุปกรณ์ที่เด็กใช้ร่วมกัน         1.4 การคัดกรองอาการป่วยโรคติดต่อชนิดต่างๆ
        1.5 ทักษะในการดูแลเด็กเบื้องต้น การเช็ดตัวลดไข้ การวัดไข้เด็ก         1.6 จัดทำทะเบียนเครือข่ายในการเฝ้าระวังโรคติดต่อ ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. เด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กป่วยด้วยโรคติดต่อลดลง   2. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กจัดกิจกรรมเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรงติดต่ออย่างต่อเนื่อง 3. ครูและบุคลากรทางการศึกษา ผู้ปกครอง มีความรู้เรื่องโรคติดต่อและการป้องกันโรคติดต่อเพิ่มมากขึ้น   4. มีเครือข่ายศูนย์พัฒนาเด็กเล็กการเฝ้าระวังโรคติดต่อ

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ครูและบุคลากรทางการศึกษา ผู้ปกครอง มีความรู้ในเรื่องโรคติดต่อและการป้องกันโรค
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของ ครูและบุคลากรทางการศึกษา ผู้ปกครอง มีความรู้เรื่องโรคติดต่อและการป้องกันโรคติดต่อ
82.00 82.00

 

2 เพื่อให้ครูและบุคลากรทางการศึกษา ผู้ปกครอง มีทักษะในการจัดการสิ่งแวดล้อมและคัดกรองอาการป่วยของโรคติดต่อที่ถูกต้อง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของครูและบุคลากรทางการศึกษา ผู้ปกครองมีทักษะในการจัดการสิ่งแวดล้อม/คัดกรองอาการป่วยของโรคติดต่อ ที่ถูกต้อง
82.00 82.00

 

3 เพื่อให้ครูและบุคลากรทางการศึกษา ผู้ปกครอง มีทักษะในการดูแลเด็กเบื้องต้น
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของครูและบุคลากรทางการศึกษา ผู้ปกครองมีทักษะและสามารถดูแลเด็กเบื้องต้น ที่ถูกต้อง
82.00 82.00

 

4 เพื่อสร้างเครือข่ายในการเฝ้าระวังโรคติดต่อในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
ตัวชี้วัด : เกิดเครือข่ายศูนย์พัฒนาเด็กเล็กการเฝ้าระวังโรคติดต่อ
82.00 82.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 149
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 67
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 82
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ครูและบุคลากรทางการศึกษา ผู้ปกครอง มีความรู้ในเรื่องโรคติดต่อและการป้องกันโรค (2) เพื่อให้ครูและบุคลากรทางการศึกษา ผู้ปกครอง มีทักษะในการจัดการสิ่งแวดล้อมและคัดกรองอาการป่วยของโรคติดต่อที่ถูกต้อง (3) เพื่อให้ครูและบุคลากรทางการศึกษา ผู้ปกครอง มีทักษะในการดูแลเด็กเบื้องต้น (4) เพื่อสร้างเครือข่ายในการเฝ้าระวังโรคติดต่อในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) เฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดต่อในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลควนโดน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดต่อในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลควนโดน จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 65-L8406-02-03

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวสุดา แซะอาหลี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด