กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการเยาวชนวัยใส่ ห่วงใยสุขภาพห่างไกลบุหรี
รหัสโครงการ 65-L2479-2-24
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ กองทุนสร้างความเข้มแข็งบ้านกูเว
วันที่อนุมัติ 1 ตุลาคม 2564
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 ตุลาคม 2564 - 30 กันยายน 2565
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 14,100.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายแวอาลี วาเต๊ะ
พี่เลี้ยงโครงการ นางสาวซูฮัยลา ยูโซะ
พื้นที่ดำเนินการ จังหวัดนราธิวาส
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานยาสูบ
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 50 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของเด็กและเยาวชน(อายุไม่เกิน 25 ปี) ที่สูบบุหรี่
50.00
2 จำนวนผู้สูบบุหรี่รายใหม่ในกลุ่มเด็ก-เยาวชนที่มีอายุไม่เกิน 25 ปี (คน)
50.00
3 ร้อยละของผู้ที่ได้รับควันบุหรี่มือสองในสถานที่สาธารณะ
60.00
4 ค่าใช้จ่ายในการซื้อบุหรี่เฉลี่ยต่อเดือนของผู้สูบบุหรี่รายคน(บาท)
60.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

เด็กเยาวชนนับว่าเป็นบุคคลสำคัญ ที่มีพละกำลัง มีความพร้อมในช่วงวัย ไม่ว่าจะเป็นทางด้านร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ที่พร้อมในการที่จะมีส่วนร่วมในการพัฒนาหมู่บ้านให้เกิดความเข้มแข็งได้ในอนาคตด้วยสภาวะการณ์ในปัจจุบันเด็กเยาวชนสั่งเกตุได้ว่า อ่อนแรงในทางความคิด ขาดความรู้ เกิดการชัดจุนได้ง่าย ร้อยละ 50 เด็กเยาวชนบ่างคนไม่สนใจการเรียน การศึกษา ละเลยการสั่งสอนของผู้เป็นพ่อแม่ ครูอาจารย์ จึงเป็นเหตุทำให้เกิดการปฏิบัติตัวหลงทางในทางที่ผิด โดยเฉพาะเด็กเยาวชนที่อยู่ในภาวะกลุ่มเสียง ที่มีอายุไม่เกิน 25 ปี ถือว่าเป็นบุคคลอยู่ในวัยใส่ สูญเสี่ยงมากในการที่จะไปติดสิ่งเสพติด ติดบุหรี โดยที่่เกิดจากความไม่มีสติ ไม่มีความรู้ และขาดความเข้าใจในการที่ป้องกันต้นเอง ด้วยเหตผลนี้กองทุนสร้างความเข้มแข็งบ้านกูเว ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญ จึงเสนอแผนงานโครงการเยาวชนวัยใส่ ห่วงใยสุขภาพห่างไกลบุหรี เพื่อที่ส่งสริม สนับสนุนให้เด็กเยาวชน มีความรู้ ความเข้าใจในการที่จะเพิ่มความสามารถในการป้องกันต้นเองจากพิษภัยของสิ่งเสพติดต่างๆ ส่งเสริมให้เด็กเยาวชนเกิดความรักต่อต้นเอง ครอบครัว สั่งคม และให้มีความสามารถที่จะพัฒนาหมู่บ้านในอนาคตต่อไปได้

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อลดอัตราการสูบยาสูบของเด็กและเยาวชน

อัตราการสูบบุหรี่ของเด็กและเยาวชนที่มีอายุไม่เกิน 25 ปี ลดลงเหลือ(ร้อยละ)

50.00 70.00
2 เพื่อลดจำนวนผู้สูบบุหรี่รายใหม่ในกลุ่มเด็ก-เยาวชนที่มีอายุไม่เกิน 25 ปี

จำนวนผู้สูบบุหรี่รายใหม่ในกลุ่มเด็ก-เยาวชนที่มีอายุไม่เกิน 25 ปี ลดลงเหลือ (คน)

50.00 70.00
3 เพื่อลดค่าใช้จ่ายในการซื้อบุหรี่เฉลี่ยต่อเดือนของผู้สูบบุหรี่รายคน

ค่าใช้จ่ายในการซื้อบุหรี่เฉลี่ยต่อเดือนของผู้สูบบุหรี่รายคน ลดลงเหลือ(บาท)

60.00 70.00
4 เพื่อลดอัตราการได้รับควันบุหรี่มือสองในสถานที่สาธารณะ

การได้รับควันบุหรี่มือสองในสถานที่สาธารณะลดลงเหลือ(ร้อยละ)

60.00 70.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
วันที่ชื่อกิจกรรมกลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)

วัตถุประสงค์ข้อที่ 1 : เพื่อลดอัตราการสูบยาสูบของเด็กและเยาวชน

รวม 0 0.00 0 0.00

วัตถุประสงค์ข้อที่ 2 : เพื่อลดจำนวนผู้สูบบุหรี่รายใหม่ในกลุ่มเด็ก-เยาวชนที่มีอายุไม่เกิน 25 ปี

รวม 0 0.00 0 0.00

วัตถุประสงค์ข้อที่ 3 : เพื่อลดค่าใช้จ่ายในการซื้อบุหรี่เฉลี่ยต่อเดือนของผู้สูบบุหรี่รายคน

รวม 0 0.00 0 0.00

วัตถุประสงค์ข้อที่ 4 : เพื่อลดอัตราการได้รับควันบุหรี่มือสองในสถานที่สาธารณะ

รวม 0 0.00 0 0.00

ไม่ระบุวัตถุประสงค์

1 ต.ค. 64 - 30 ก.ย. 65 กิจกรรมประชาสัมพันธ์ ประสานงาน และจัดประชุม 0.00 -
1 ต.ค. 64 - 30 ก.ย. 65 กิจกรรมอบรม ให้ความรู้และทอดบทเรียน การป้องกันต้นเองจากพิษภัยบุหรี่ 14,100.00 -

หมายเหตุ : งบประมาณ และ ค่าใช้จ่าย รวมทุกวัตถุประสงค์อาจจะไม่เท่ากับงบประมาณรวมได้

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.เด็กเยาวชน มีความรู้ ความเข้าใจในการที่จะเพิ่มความสามารถในการป้องกันต้นเองจากพิษภัยของสิ่งเสพติดต่างๆ

2.เด็กเยาวชนเกิดความรักต่อตนเอง ครอบครัว สังคม และให้มีความสามารถที่จะพัฒนาหมู่บ้านในอนาคตต่อไปได้

2.ร้อยละ 90 % เด็กเยาวชนเพิ่มความสามารถในการป้องกัน ดูแลสุขภาพตนเองและครอบครัวได้มากขึ้น

3.เด็กเยาวชนได้เห็นความสำคัญในการออกกำลังกายมากขึ้น

4.อัตราการสูบบุหรี่ของเด็กเยาวชนลดลง

5.จำนวนผู้สูบบุหรี่ในกลุ่มเด็กเยาวชนลดลง

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 26 พ.ค. 2565 07:42 น.