กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเขาหัวช้าง


“ ส่งเสริมการจัดการขยะในชุมชนในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิค 19 (อสม.ม.6) ”

ตำบลตะโหมด อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นางสาวศิริธร จันทร์หอม

ชื่อโครงการ ส่งเสริมการจัดการขยะในชุมชนในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิค 19 (อสม.ม.6)

ที่อยู่ ตำบลตะโหมด อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 2565-L3328-2-13 เลขที่ข้อตกลง 19/2565

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 10 พฤษภาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2565


กิตติกรรมประกาศ

"ส่งเสริมการจัดการขยะในชุมชนในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิค 19 (อสม.ม.6) จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตะโหมด อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเขาหัวช้าง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ส่งเสริมการจัดการขยะในชุมชนในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิค 19 (อสม.ม.6)



บทคัดย่อ

โครงการ " ส่งเสริมการจัดการขยะในชุมชนในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิค 19 (อสม.ม.6) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตะโหมด อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 2565-L3328-2-13 ระยะเวลาการดำเนินงาน 10 พฤษภาคม 2565 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 22,600.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเขาหัวช้าง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิค19ในประเทศไทยในช่วงเดือน มกราคม 2564-เมษายน 2565 มีการแพร่ระบาดอย่างรุนแรงมาตลอดโดยทำให้มีผู้ติดเชื้อเพิ่มขึ้นจำนวนมากและมีการแพร่ระบาดไปในพื้นที่จังหวัดต่างๆทั่วประเทศอย่างต่อเนื่องจังหวัดพัทลุงเป็นอีกจังหวัดที่มีการแพร่ระบาดของเชื้อโรคอย่างต่อเนื่องและมีแนวโน้มจะมีการติดเชื้อและการแพร่ของเชื้อโรคเพิ่มวงกว้างในอนาคต ซึ่งสาเหตุของกรแพร่เชื้อเกิดขึ้นจากการพัฒนาและปรับตัวของเชื้อโรคที่สามารถวิวัฒนาการในการแพร่เชื้อได้ง่ายขึ้นและเร็วขึ้นจนเกิดเป็นเชื้อโรคสายพันธุ์ต่างๆ สำหรับคนในพื้นที่ยังจำเป็นต้องทำกิจกรรมต่างๆในการใช้ชีวิตประจำวันและการประกอบอาชีพในการเลี้ยงครอบครัวและการทำมาหากินเพื่อปากท้องกิจกรรมต่างๆในสังคมที่เกิดขึ้นตามประเพณีและวัฒนธรรมประจำถิ่นของแต่ละพื้นที่ยังคงต้องดำเนินต่อไป จากการที่มีการติดเชื้อของคนในพื้นที่มาตรการที่สำคัญ คือ มาตรการรักษาและกักตัวที่บ้านของผู้ป่วยและกลุ่มเสี่ยงส่งผลจากการทำกิจกรรมที่ตามมาคือมีขยะเพิ่มขึ้นในระดับครัวเรือน ขยะที่เป็นปัญหาต่อการจัดการคือ ขยะติดเชื้อที่เกิดจากการใช้ชีวิตของผู้ป่วยและกลุ่มเสี่ยง เช่นหน้ากากอนามัย เครื่องตรวจ ATK ผ้าอ้อมสำเร็จของเด็กและผู้สูงอายุ รวมถึงขยะจากภาชนะในการใช้อื่นๆในครัวเรือน ซึ่งปัจจุบัน ชุมชน ท้องถิ่นและครัวเรือนยังขาดความรู้ความเข้าใจและวิธีการจัดการในรูปแบบต่างๆของขยะติดเชื้อเหล่านี้อย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพ ซึ่งส่งผลให้มีขยะเหล่านี้เพิ่มขึ้นเรื่อยๆและมีการจัดการที่ไม่ถูกสุขลักษณะ ซึ่งจะส่งผลต่อสุขภาพของคนในชุมชนต่อการติดเชื้อเพิ่มขึ้นในอนาคต จากสถานการณ์ที่เกิดขึ้นจึงทำให้กลุ่ม อสม. ม.6 บ้านโหล๊ะจันกระ เกิดความตระหนักต่อปัญหาและร่วมกันค้นหาแนวทางและวิธีการในการจัดการขยะที่เกิดขึ้นให้มีประสิทธิภาพและลดผลกระทบต่อคนในชุมชนให้น้อยที่สุด

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้คนในชุมชนเกิดความตระหนักต่อปัญหาการแพร่ระบาดของโรคโควิค 19
  2. 2. เพื่อให้คนในชุมชนมีความรู้ความเข้าใจและสามารถจัดการขยะติดเชื้ออย่างมีประสิทธิภาพ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1.อบรมให้ความรู้ความเข้าใจการจัดการขยะติดเชื้ออย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพ
  2. 2.จัดทำป้ายรณรงค์ ประชาสัมพันธ์จำนวน 3 แผ่น ติดตามจุดสำคัญภายในชุมชน
  3. 3.จัดซื้อถุงคัดแยกขยะติดเชื้อแจกจ่าย ให้แก่คนในชุมชน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 50
กลุ่มผู้สูงอายุ 50
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.สมาชิกในชุมชนซึ่งเป็นตัวแทนครัวเรือน 100 คน เกิดความตระหนัก มีความรู้ความเข้าใจ สามารถคัดแยกขยะติดเชื้อและมีการจัดทิ้งเพื่อนำไปสู่การกำจัดอย่างถูกวิธี 2. สามารถลดปัญหาการทิ้งขยะติดเชื้อที่ไม่ถูกต้องตามวิธีการและสามารถลดการแพร่เชื้อที่เกิดจากขยะติดเชื้อในชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อให้คนในชุมชนเกิดความตระหนักต่อปัญหาการแพร่ระบาดของโรคโควิค 19
ตัวชี้วัด : 1. มีตัวแทนครัวเรือนในชุมชนเข้ารับการอบรมให้ความรู้จำนวน 100 คน 2. มีการรณรงค์ประชาสัมพันธ์อย่างต่อเนื่องในชุมชน
0.00

 

2 2. เพื่อให้คนในชุมชนมีความรู้ความเข้าใจและสามารถจัดการขยะติดเชื้ออย่างมีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด : 1. ตัวแทนครัวเรือนจำนวน 100 คน มีความรู้เรื่องการจัดการขยะติดเชื้อที่ถูกต้องตามหลักสาธารณสุข 2. กลุ่มเป้าหมายทุกคนสามารถมีการคัดแยกและจัดการขยะติดเชื้อได้อย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพ
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 50
กลุ่มผู้สูงอายุ 50
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้คนในชุมชนเกิดความตระหนักต่อปัญหาการแพร่ระบาดของโรคโควิค 19 (2) 2. เพื่อให้คนในชุมชนมีความรู้ความเข้าใจและสามารถจัดการขยะติดเชื้ออย่างมีประสิทธิภาพ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.อบรมให้ความรู้ความเข้าใจการจัดการขยะติดเชื้ออย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพ (2) 2.จัดทำป้ายรณรงค์ ประชาสัมพันธ์จำนวน 3 แผ่น ติดตามจุดสำคัญภายในชุมชน (3) 3.จัดซื้อถุงคัดแยกขยะติดเชื้อแจกจ่าย ให้แก่คนในชุมชน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่งเสริมการจัดการขยะในชุมชนในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิค 19 (อสม.ม.6) จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 2565-L3328-2-13

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวศิริธร จันทร์หอม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด