กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กอลำ


“ โครงการป้องกันภาวะเสี่ยงโรคหลอดเลือดสมอง และช่วยเหลือผู้สูงอายุ ”

ตำบลกอลำ อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางสาวอามีรา กาหลง,นางสาวไซนับ บือแน,นางสาวคอปีเย๊าะ บือแน,นางสาวนูรีซัน บือแน,นางสาวการีมะห์ เต๊ะแต

ชื่อโครงการ โครงการป้องกันภาวะเสี่ยงโรคหลอดเลือดสมอง และช่วยเหลือผู้สูงอายุ

ที่อยู่ ตำบลกอลำ อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 65-L3026-02-06 เลขที่ข้อตกลง 18/2565

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2565 ถึง 30 กันยายน 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการป้องกันภาวะเสี่ยงโรคหลอดเลือดสมอง และช่วยเหลือผู้สูงอายุ จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกอลำ อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กอลำ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันภาวะเสี่ยงโรคหลอดเลือดสมอง และช่วยเหลือผู้สูงอายุ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการป้องกันภาวะเสี่ยงโรคหลอดเลือดสมอง และช่วยเหลือผู้สูงอายุ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกอลำ อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 65-L3026-02-06 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2565 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,700.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กอลำ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากการที่ประเทศไทยเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ ผลกระทบสำคัญด้านสุขภาพตามกระบวนการ ชราภาพ คือ การเกิดโรคเรื้อรังในผู้สูงอายุ โดย เฉพาะอย่างยิ่งโรคหลอดเลือดสมอง ซึ่งถือว่าเป็นโรคสาเหตุทำให้ผู้สูงอายุไทยสูญเสียสุขภาวะเป็น อันดับ 1 คิดเป็นร้อยละ 10.6 และเป็นสาเหตุการ เสียชีวิตในประชากรไทยสูงเป็นอันดับ 2 รองจาก โรคมะเร็งด้วย1 อีกทั้งยังพบว่าผู้สูงอายุทั่วโลกเสีย ชีวิตด้วยโรคหลอดเลือดสมองเป็นอันดับที่ 2 และ ทุก ๆ 6 นาทีจะมีผู้คนทั่วโลกผู้เสียชีวิตด้วยโรค หลอดเลือดสมองอย่างน้อย 1 คน โรคหลอดเลือดสมองเป็นโรคที่พบมากขึ้น ในคนสูงอายุ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในกลุ่มประเทศ ที่มีรายได้น้อยจนถึงประเทศที่มีรายได้ปานกลางยิ่งมีอายุมากขึ้นก็จะยิ่งมีโอกาสเกิดโรคหลอดเลือดสมองมากขึ้น ในต่างประเทศเรียก ปรากฏการณ์นี้ว่า domino effect ซึ่งสาเหตุที่สำคัญที่สุดของการเกิดโรคหลอดเลือดสมองในผู้สูงอายุ คือเกิดจากภาวะหลอดเลือดแดงตีบแข็งทั่วร่างกาย (atherosclerosis) สิ่งที่ต้องเฝ้าระวัง มากที่สุด คือ ผู้สูงอายุที่เคยเป็นโรคหลอดเลือด สมองแล้วจะมีโอกาสเกิดโรคหลอดเลือดสมองกลับเป็นซ้ำได้เร็วและมากกว่าคนวัยอื่น 3 เท่า ส่งผลให้อัตราการเข้ารับการรักษาตัวในโรงพยาบาลของผู้สูงอายุด้วยโรคหลอดเลือดสมอง กลับเป็นซ้ำมีมากกว่า 2 ครั้งต่อปี

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อป้องกันภาวะเสี่ยงโรคหลอดเลือดสมองในผู้สูงอายุ
  2. เพื่อให้ผู้สูงอายุที่มีภาวะซึมเศร้าได้รับการดูแลรักษาและติดตามความเสี่ยงในการฆ่าตัวตาย
  3. เพื่อให้อาสาสมัครสาธารณสุขมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องโรคหลอดเลือดสมอง ต้อกระจก และเข้าใจเรื่อง สุขภาพจิต สามารถช่วยเหลือเจ้าหน้าที่สาธารณสุขในการคัดกรองกลุ่มเสี่ยงและติดตามดูแลผู้มีปัญหาสุขภาพจิตได้ อย่างเหมาะสม

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ 45
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 45
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. อาสาสมัครสาธารณสุขมีความรู้ ความเข้าใจในการปฏิบัติงาน และสามารถช่วยเหลือเจ้าหน้าที่สาธารณสุข ในการตรวจคัดกรองกลุ่มเสี่ยงโดยใช้แบบคัดกรอง
    2. ผู้สูงอายุและผู้ป่วยโรคเรื้อรังได้รับการคัดกรองตามแบบคัดกรอง
    3. ผู้มีปัญหาสุขภาพจิต สามารถเข้าถึงบริการและได้รับการดูแลอย่างต่อเนื่อง

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อป้องกันภาวะเสี่ยงโรคหลอดเลือดสมองในผู้สูงอายุ
    ตัวชี้วัด :
    0.00

     

    2 เพื่อให้ผู้สูงอายุที่มีภาวะซึมเศร้าได้รับการดูแลรักษาและติดตามความเสี่ยงในการฆ่าตัวตาย
    ตัวชี้วัด :
    0.00

     

    3 เพื่อให้อาสาสมัครสาธารณสุขมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องโรคหลอดเลือดสมอง ต้อกระจก และเข้าใจเรื่อง สุขภาพจิต สามารถช่วยเหลือเจ้าหน้าที่สาธารณสุขในการคัดกรองกลุ่มเสี่ยงและติดตามดูแลผู้มีปัญหาสุขภาพจิตได้ อย่างเหมาะสม
    ตัวชี้วัด :
    0.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 90 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ 45
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 45
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อป้องกันภาวะเสี่ยงโรคหลอดเลือดสมองในผู้สูงอายุ (2) เพื่อให้ผู้สูงอายุที่มีภาวะซึมเศร้าได้รับการดูแลรักษาและติดตามความเสี่ยงในการฆ่าตัวตาย (3) เพื่อให้อาสาสมัครสาธารณสุขมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องโรคหลอดเลือดสมอง ต้อกระจก และเข้าใจเรื่อง สุขภาพจิต สามารถช่วยเหลือเจ้าหน้าที่สาธารณสุขในการคัดกรองกลุ่มเสี่ยงและติดตามดูแลผู้มีปัญหาสุขภาพจิตได้ อย่างเหมาะสม

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการป้องกันภาวะเสี่ยงโรคหลอดเลือดสมอง และช่วยเหลือผู้สูงอายุ จังหวัด ปัตตานี

    รหัสโครงการ 65-L3026-02-06

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสาวอามีรา กาหลง,นางสาวไซนับ บือแน,นางสาวคอปีเย๊าะ บือแน,นางสาวนูรีซัน บือแน,นางสาวการีมะห์ เต๊ะแต )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด