กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.วังพญา


“ โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลวังพญา ประจำปีงบประมาณ 2565 ”

ตำบลวังพญา อำเภอรามัน จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางปฐมรัตน์ เพียรมาก

ชื่อโครงการ โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลวังพญา ประจำปีงบประมาณ 2565

ที่อยู่ ตำบลวังพญา อำเภอรามัน จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 65-L4165-4-01 เลขที่ข้อตกลง 01/2565

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 11 พฤษภาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลวังพญา ประจำปีงบประมาณ 2565 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลวังพญา อำเภอรามัน จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.วังพญา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลวังพญา ประจำปีงบประมาณ 2565



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลวังพญา ประจำปีงบประมาณ 2565 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลวังพญา อำเภอรามัน จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 65-L4165-4-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 11 พฤษภาคม 2565 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 102,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.วังพญา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ตามที่คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ได้เห็นชอบให้ดำเนินงานระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ เพื่อให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2545 ตามมาตรา 18 (9) และมาตรา 47 ได้สนับสนุนและกำหนดหลักเกณฑ์ให้องค์กรชุมชน องค์กรเอกชนและภาคเอกชนที่ไม่มีวัตถุประสงค์เพื่อดำเนินการแสวงหากำไร ดำเนินงานและบริหารจัดการเงินทุนในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ได้ตามความพร้อม ความเหมาะสมและความต้องการ โดยส่งเสริมกระบวนการมีส่วนร่วมเพื่อสร้างหลักประกันสุขภาพให้แก่บุคคลในพื้นที่ให้คณะกรรมการสนับสนุนและประสานกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นกำหนดหลักเกณฑ์เพื่อให้องค์กรดังกล่าวเป็นผู้ดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ โดยให้ได้รับค่าใช้จ่ายจากกองทุน กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลวังพญา เกิดขึ้นตามแนวทางการดำเนินงานดังกล่าวโดยได้ผ่านการเห็นชอบจากคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต 12 สงขลา ได้ดำเนินการตั้งแต่ปีงบประมาณ 2552 ซึ่งในการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่นหรือพื้นที่ ต้องดำเนินการให้เป็นไปตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง การกำหนดหลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ. 2557 โดยแต่ละกองทุนฯนำหลักเกณฑ์ดังกล่าวมาจัดทำเป็นระเบียบกองทุนสำหรับใช้ในการบริหารจัดการกองทุนต่อไป ทั้งนี้ นอกเหนือจากหลักเกณฑ์ดังกล่าว ปัจจัยในการบริหารจัดการกองทุนให้มีประสิทธิภาพ ยังเกิดขึ้นจากคณะบุคคลอีกหนึ่งคณะตามที่กล่าวข้างต้น นั้นคือ คณะกรรมการบริหารกองทุนหลักประกัน    สุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลวังพญา อนุกรรมการฯ กล่าวคือการ การที่คณะกรรมาการบริหารกองทุนมีความรู้มีความสามารถเข้าถึง เข้าใจหลักการบริหารจัดการกองทุน ก็จะทำให้กองทุนแห่งนั้นดำเนินการสำเร็จตามเป้าหมายและวัตถุประสงค์ ประกอบกับ สำนักงานเลขานุการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ซึ่งเป็นหน่วยปฏิบัติงานให้กับคณะกรรมการบริหารกองทุน ก็ต้องมีเจ้าหน้าทีดำเนินงานกองทุนฯ วัสดุอุปกรณ์ เครื่องมือเครื่องใช้ที่พร้อมในการสนับสนุนการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพไปพร้อมกันดังนั้น เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลวังพญา จึงได้จัดทำโครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลวังพญา ประจำปีงบประมาณ 2565 ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุนฯให้มีความรู้ความเข้าใจในการดำเนินงานของการบริหารจัดการกองทุนตามวัตถุประสงค์และเป็นอย่างมีประสิทธิภาพ
  2. 2.เพื่อเพิ่มพูมความรู้ ความเข้าใจ ในหลักเกณฑ์ ระเบียบ ประกาศ คำสั่งที่เกี่ยวข้องรวมไปถึงการสร้างเสริมแนวคิดใหม่ในการสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคฯลฯ
  3. 3.เพื่อให้มีการประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุน/อนุกรรมการ ครบตามประกาศ
  4. 4.เพื่อพัฒนาระบบบริหารจัดการกองทุนให้มีประสิทธิภาพ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมคณะกรรมการบริหารจัดการกองทุนฯ
  2. ประชุมคณะทำงานช่วยเหลือกองทุนฯ
  3. แนวทางการดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลวังพญา (ค่าเดินทางไปราชการ ค่าวิทยากร ค่าอาหารว่าง ค่าอาหารกลางวัน ค่าเอกสาร ฯลฯ)
  4. การเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของสำนักงานกองทุนฯ (ค่าจัดซื้อครุภัณฑ์ต่างๆ เช่น ตู้เอกสาร กล้องถ่ายรูป วัสดุสำนักงาน ฯลฯ
  5. จัดซื้้อครุภัณฑ์คอมพิวเตอร์
  6. ประชุมคณะอนุกรรมการ(LTC)

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1 มีการประชุมกรรมการเพื่อพิจารณาและติดตามงานอย่างน้อย 4 ครั้งเพื่อโครงการที่เสนอได้รับ การพิจารณาอย่างน้อย 80%
2 มีการพัฒนาศักยภาพการดำเนินงานของกองทุนร่วมกับทีมพี่เลี้ยง อย่างน้อย 1 ครั้งหรือร่วมกิจกรรมของสปสช.อย่างน้อย 1 ครั้ง
3 วัสดุสำนักงานฯ สำหรับการบริหารจัดการกองทุนฯ ถูกซื้อตามแผนงานที่วางไว้
4 จัดทำแผนสุขภาพชุมชนปี 2565
5 ครุภัณฑ์สำหรับบริหารกองทุนฯ ถูกจัดซื้อตามแผนงานที่วางไว้
6 ได้จ้างเหมาบริการตามงานและกิจกรรมที่วางไว้


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ประชุมคณะกรรมการบริหารจัดการกองทุนฯ

วันที่ 14 กันยายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ เบิกค่าใช้จ่ายเป็นเงิน 20,400.- บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้ประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ จำนวน 3 ครั้ง

 

20 0

2. ประชุมคณะทำงานช่วยเหลือกองทุนฯ

วันที่ 14 กันยายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมคณะทำงานช่วยเหลือกองทุนฯ เบิกค่าใช้จ่ายเป็นเงิน 1,800.- บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้ประชุมคณะทำงานช่วยเหลือกองทุนฯ จำนวน 3 ครั้ง

 

3 0

3. แนวทางการดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลวังพญา (ค่าเดินทางไปราชการ ค่าวิทยากร ค่าอาหารว่าง ค่าอาหารกลางวัน ค่าเอกสาร ฯลฯ)

วันที่ 14 กันยายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

สำนักงานเลขาฯ กองทุนองค์การบริหารส่่วนตำบลวังพญา ได้จัดโครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบล  วังพญา กิจกรรม “แนวทางการดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลวังพญา” ค่าใช้จ่ายตามโครงการฯ ทั้งสิ้น 46,050.- บาท (เงินสี่หมื่นหกพันห้าสิบบาทถ้วน)

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้จัดโครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบล  วังพญา กิจกรรม “แนวทางการดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลวังพญา”  เพิ่อสร้างเข้าใจให้กับกลุ่มผู้รับเงินงบประมาณ คณะกรรมการบริหารกองทุนฯ คณะทำงานช่วยเหลือกองทุนฯ

 

50 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุนฯให้มีความรู้ความเข้าใจในการดำเนินงานของการบริหารจัดการกองทุนตามวัตถุประสงค์และเป็นอย่างมีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด : มีจำนวนคณะกรรมการการบริหารฯได้รับการพัฒนาศักยภาพฯโครงการด้านสุขภาพ(คน)
100.00

 

2 2.เพื่อเพิ่มพูมความรู้ ความเข้าใจ ในหลักเกณฑ์ ระเบียบ ประกาศ คำสั่งที่เกี่ยวข้องรวมไปถึงการสร้างเสริมแนวคิดใหม่ในการสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคฯลฯ
ตัวชี้วัด : กองทุนสุขภาพตำบลสามารถบริหารกองทุนโดยใช้หลักเกณฑ์ต่างๆของกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
100.00

 

3 3.เพื่อให้มีการประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุน/อนุกรรมการ ครบตามประกาศ
ตัวชี้วัด : มีจำนวนคณะกรรมการบริหารจัดการทองทุน/อนุกรรมการ ครบตามประกาศ(คน)
100.00

 

4 4.เพื่อพัฒนาระบบบริหารจัดการกองทุนให้มีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด : กองทุนสุขภาพตำบลสามารถบริหารสนับสนุนเงินแก่ผู้รับทุนไม่น้อยกว่าร้อยละ 90
100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุนฯให้มีความรู้ความเข้าใจในการดำเนินงานของการบริหารจัดการกองทุนตามวัตถุประสงค์และเป็นอย่างมีประสิทธิภาพ (2) 2.เพื่อเพิ่มพูมความรู้ ความเข้าใจ ในหลักเกณฑ์ ระเบียบ ประกาศ คำสั่งที่เกี่ยวข้องรวมไปถึงการสร้างเสริมแนวคิดใหม่ในการสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคฯลฯ (3) 3.เพื่อให้มีการประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุน/อนุกรรมการ ครบตามประกาศ (4) 4.เพื่อพัฒนาระบบบริหารจัดการกองทุนให้มีประสิทธิภาพ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมคณะกรรมการบริหารจัดการกองทุนฯ (2) ประชุมคณะทำงานช่วยเหลือกองทุนฯ (3) แนวทางการดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลวังพญา (ค่าเดินทางไปราชการ ค่าวิทยากร ค่าอาหารว่าง ค่าอาหารกลางวัน ค่าเอกสาร ฯลฯ) (4) การเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของสำนักงานกองทุนฯ (ค่าจัดซื้อครุภัณฑ์ต่างๆ เช่น ตู้เอกสาร กล้องถ่ายรูป วัสดุสำนักงาน ฯลฯ (5) จัดซื้้อครุภัณฑ์คอมพิวเตอร์ (6) ประชุมคณะอนุกรรมการ(LTC)

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลวังพญา ประจำปีงบประมาณ 2565 จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 65-L4165-4-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางปฐมรัตน์ เพียรมาก )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด