กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลตอหลัง


“ โครงการแก้ปัญหาภาวะทุพโภชนาการนักเรียน ประจำปีการศึกษา 2565 ”

ตำบลตอหลัง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านดูซงปาแย

ชื่อโครงการ โครงการแก้ปัญหาภาวะทุพโภชนาการนักเรียน ประจำปีการศึกษา 2565

ที่อยู่ ตำบลตอหลัง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 65-L3038-02-01 เลขที่ข้อตกลง 1/2565

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 26 เมษายน 2565 ถึง 30 กันยายน 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการแก้ปัญหาภาวะทุพโภชนาการนักเรียน ประจำปีการศึกษา 2565 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตอหลัง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลตอหลัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการแก้ปัญหาภาวะทุพโภชนาการนักเรียน ประจำปีการศึกษา 2565



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการแก้ปัญหาภาวะทุพโภชนาการนักเรียน ประจำปีการศึกษา 2565 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตอหลัง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 65-L3038-02-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 26 เมษายน 2565 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 13,598.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลตอหลัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2545 ระบุความหมายของการจัดการศึกาาว่าต้องเป็นไปเพิ่ทพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ ทั้งร่างกาย จิตใจ และสติปัญญา ดังนั้น การดูแลสุขภาพของเด็กในวัยเรียน จึงมีความสำคัญเป็นอย่างยิ่งที่โรงเรียนต้องดำเนินการทั้งในแง่การให้ความรู้ การฝึกปฏิบัติ การเสริมสร้างและการแก้ปัญหาด้านสุขภาพที่อาจเกิดขึ้นกับผู้เรียน จากการประเมินภาวะการเจริญเติบโตของนักเรียน ในเดือนกันยายน พ.ศ.2564 ภาวะโภชนาการเกินเกณฑ์ จำนวน 9 คน คิดเป็นร้อยละ 4.09 ภาวะทุพโภชนาการเป็นปัญหาที่มักก่อให้เกิดโรคภัยต่างๆ มากมาย จะส่งผลต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาการด้านการเรียนรู้ของนักเรียน โรงเรียนเล็งเห็นถึงความสำคัญด้านโภชนาการสำหรับนักเรียน เพื่อให้นักเรียนเติบโตอย่างเต็มศักยภาพ มีน้ำหนักและส่วนสูงตามเกณฑ์มาตรฐานของกรมอนามัย มีสุขภาพอนามัยที่สมบูรณ์ แข็งแรง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อให้นักเรียนและผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับภาวะโภชนาการในเด็กอายุ 6-12 ปี และตระหนักถึงผลกระทบจากปัญหาโภชนาการต่ำกว่าเกณฑ์และเกินเกณฑ
  2. 2.เพื่อสร้างนิสัยให้นักเรียนรักและเห็นคุณค่าของการออกกำลังกายและตระหนักถึงผลกระทบจากปัญหาภาวะโภชนาการต่ำกว่าเกณฑ์และเกินเกณฑ์
  3. 3.เพื่อให้นักเรียนมีน้ำหนักและส่วนสูงอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานตามวัย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ตาราางที่ 1 เงินที่ได้รับการสนับสนุนจากกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลตอหลัง
  2. ตารางที่ 2 การประเมินความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับภาวะโภชนาการในเด็กอายุ 6-12 ปี และตระหนักถึงผลกระทบจากปัญหาภาวะโภชนาการต่ำกว่าเกณฑ์และเกินเกณฑ์ จำนวน 65 คน
  3. ตารางที่ 3 การประเมินพฤติกรรมนักเรียนในการออกกำลังกายเพื่อลดปัญหาภาวะโภชนาการต่ำกว่าเกณฑ์และเกินเกณฑ์ จำนวน 65 คน
  4. ตารางที่ 4 การสำรวจทุพโภชนกาารตามวัยของนักเรียน จำนวน 65 คน
  5. ตาราง 1 จัดหาวัสดุอุปกรณ์และจัดทำป้ายโครงการ
  6. ตารางที่ 2 การประเมินความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับภาวะโภชนาการในเด็กอายุ 6-12 ปี และตระหนักถึงผลกระทบจากปัญหาภาวะโภชนาการต่ำกว่าเกณฑ์และเกินเกณฑ์ จำนวน 65 คน
  7. ตารางที่ 3 การประเมินพฤติกรรมนักเรียนในการออกกำลังกายเพื่อลดปัญหาภาวะโภชนาการต่ำกว่าเกณฑ์และเกินเกณฑ์
  8. ตารางที่ 4 การสำรวจทุพโภชนกาารตามวัยของนักเรียน จำนวน 65 คน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 65
กลุ่มวัยทำงาน 65
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.คณะครู นักเรียน และผู้ปกครอง มีความรู้ความเข้าใจภาวะโภชนาการในเด็กอายุ 6-12 ปี และตระหนักถึงผลกระทบจากปัญหาภาวะโภชนาการต่ำกว่าเกณฑ์และเกินเกณฑ์ 2.นักเรียนมีนิสัยรักและเห็นคุณค่าของการออกกำลังกาาย 3. นักเรียนมีน้ำหนักและส่วนสูงอยู่ในเกณฑ์ปกติตามวัย


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ตาราง 1 จัดหาวัสดุอุปกรณ์และจัดทำป้ายโครงการ

วันที่ 31 พฤษภาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมที่ 1 จัดหาวัสดุอุปกรณ์ -ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มในการอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการเลือกรับประทานอาหารที่ถูกหลักโภชนาการแก่นักเรียน จำนวน 65 คน และผู้ปกครอง จำนวน 65 คน จำนวน 130 คนๆละ 1 มื้อๆละ 25 บาท เป็นเงิน 3,250 บาท -ค่าวิทยากร จำนวน 1 คน ชั่วโมงละ 300 บาท จำนวน 3 ชั่วโมง เป็นเงิน 900 บาท -ค่าวัสดุอุปกรณ์ชั่งน้ำหนักเด็กนักเรียน เป็นเงิน 2,550 บาท -ค่าวัสดุอุปกรณ์ออกกำลังกาย (ฮูล่าฮูป) จำนวน 25 ชุด ๆละ 137 บาท เป็นเงิน 3,425 บาท -ค่าวัสดุอุปกรณ์ฺ/คู่มือการอบรม จำนวน 130 ชุด ๆละ 20 บาท เป็นเเงิน 2,600 บาท กิจกรรมที่ 2 จัดทำป้ายโครงการ
-ค่าจัดทำป้ายโครงการฯ ขนาด 1.2x2.4 เมตร ตารางเมตรละ 300 บาท จำนวน 1 แผ่น เป็นเงิน 864 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโภชนาการในเด็กอายุ 6-12 ปี และตระหนักถึงผลกระทบจากปัญหาภาวะโภชนาการต่ำกว่าเกณฑ์และเกินเกณฑ์ โดยภาพรวมร้อยละ 96.92 ซึ่งอยู่ในระดับมาก 2. นักเรียนรักและเห็นคุณค่าของการออกกำลังกาย และตระหนักถึงผลกระทบจากปัญหาภาวะโภชนาการต่ำกว่าเกณฑ์ โดยภาพรวม ร้อยละ 98.67 ซึ่งอยู่ในระดับมาก 3.นักเรียนมีน้ำหนักและส่วนสูงอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานตามวัย และตระหนักถึงผลกระทบจากปัญหาภาวะโภชนการต่ำกว่าเกณฑ์ โดยภาพรวม คิดเป็นร้อยละ 92.31

 

130 0

2. ตารางที่ 2 การประเมินความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับภาวะโภชนาการในเด็กอายุ 6-12 ปี และตระหนักถึงผลกระทบจากปัญหาภาวะโภชนาการต่ำกว่าเกณฑ์และเกินเกณฑ์ จำนวน 65 คน

วันที่ 31 พฤษภาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

จัดอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการเลือกรับประทานอาหารที่ถูกหลักโภชนาการแก่นักเรียน การออกกำลังกายที่ถูกวิธี โดยได้จัดทำแบบประเมินและประเมินความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับภาวะโภชนาการในเด็กอายุ 6-12 ปี

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

นักรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับภาวะโภชนาการในเด็กอายุ 6-12 ปี และตระหนักถึงผลกระทบจากปัญหาภาวะโภชนการต่ำกว่าเกณฑ์และเกินเกณฑ์ โดยภาพรวม ร้อยละ 96.92 ซึ่งอยู่ในระดับมาก

 

65 0

3. ตารางที่ 3 การประเมินพฤติกรรมนักเรียนในการออกกำลังกายเพื่อลดปัญหาภาวะโภชนาการต่ำกว่าเกณฑ์และเกินเกณฑ์

วันที่ 31 พฤษภาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

จัดให้นักเรียนมีการออกกำลังกายทุกวัน และรณรงค์ให้นักเรียนทุกคนมีความตระหนักถึงผลกระทบจากปัญหาภาวะโภชนาการต่ำกว่าเกณฑ์ โดยได้จัดทำแบบประเมินพฤติกรรมนักเรียนในการออกกำลังกายเพื่อลดปัญหาภาวะโภชนการต่ำกว่าเกณฑ์และเกินเกณฑ์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

นักเรียนรักและเห็นตุณค่าของการออกกำลังกายและความตระหนักถึงผลกระทบจากปัญหาภาวะโภชนาการต่ำกว่าเกณฑ์และเกินเกณฑ์ โดยภาพรวมร้อยละ 98.67 ซึ่งอยู่ในระดับมาก

 

65 0

4. ตารางที่ 4 การสำรวจทุพโภชนกาารตามวัยของนักเรียน จำนวน 65 คน

วันที่ 31 พฤษภาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ให้นักเรียนมีการชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูงแล้วนำมาเทียบกับเกณฑ์มาตรฐานตามวัย และรณรงค์ให้นักเรียนมีความตระหนักถึงผลกระทบจากปัญหาภาวะโภชนาการต่ำกว่าเกณฑ์และเกินเกณฑ์ โดยได้จัดทำแบบสำรวจภาวะทุพโภชนาการตามวัยของนักเรียน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

นักเรียนมีน้ำหนักและส่วนสูงอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานตามวัย และตระหนักถึงผลกระทบจากปัญหาภาวะโภชนาการต่ำกว่าเกณฑ์และเกินเกณฑ์ โดยภาพรวม คิดเป็นร้อยละ 92.31

 

65 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อให้นักเรียนและผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับภาวะโภชนาการในเด็กอายุ 6-12 ปี และตระหนักถึงผลกระทบจากปัญหาโภชนาการต่ำกว่าเกณฑ์และเกินเกณฑ
ตัวชี้วัด :
1.00 100.00

 

2 2.เพื่อสร้างนิสัยให้นักเรียนรักและเห็นคุณค่าของการออกกำลังกายและตระหนักถึงผลกระทบจากปัญหาภาวะโภชนาการต่ำกว่าเกณฑ์และเกินเกณฑ์
ตัวชี้วัด :
1.00 100.00

 

3 3.เพื่อให้นักเรียนมีน้ำหนักและส่วนสูงอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานตามวัย
ตัวชี้วัด :
1.00 100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 130
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 65
กลุ่มวัยทำงาน 65
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้นักเรียนและผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับภาวะโภชนาการในเด็กอายุ 6-12 ปี และตระหนักถึงผลกระทบจากปัญหาโภชนาการต่ำกว่าเกณฑ์และเกินเกณฑ (2) 2.เพื่อสร้างนิสัยให้นักเรียนรักและเห็นคุณค่าของการออกกำลังกายและตระหนักถึงผลกระทบจากปัญหาภาวะโภชนาการต่ำกว่าเกณฑ์และเกินเกณฑ์ (3) 3.เพื่อให้นักเรียนมีน้ำหนักและส่วนสูงอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานตามวัย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ตาราางที่ 1 เงินที่ได้รับการสนับสนุนจากกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลตอหลัง (2) ตารางที่ 2 การประเมินความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับภาวะโภชนาการในเด็กอายุ 6-12 ปี และตระหนักถึงผลกระทบจากปัญหาภาวะโภชนาการต่ำกว่าเกณฑ์และเกินเกณฑ์ จำนวน 65 คน (3) ตารางที่ 3 การประเมินพฤติกรรมนักเรียนในการออกกำลังกายเพื่อลดปัญหาภาวะโภชนาการต่ำกว่าเกณฑ์และเกินเกณฑ์ จำนวน 65 คน (4) ตารางที่ 4 การสำรวจทุพโภชนกาารตามวัยของนักเรียน จำนวน 65 คน (5) ตาราง 1 จัดหาวัสดุอุปกรณ์และจัดทำป้ายโครงการ (6) ตารางที่ 2 การประเมินความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับภาวะโภชนาการในเด็กอายุ 6-12 ปี และตระหนักถึงผลกระทบจากปัญหาภาวะโภชนาการต่ำกว่าเกณฑ์และเกินเกณฑ์ จำนวน 65 คน (7) ตารางที่ 3 การประเมินพฤติกรรมนักเรียนในการออกกำลังกายเพื่อลดปัญหาภาวะโภชนาการต่ำกว่าเกณฑ์และเกินเกณฑ์ (8) ตารางที่ 4 การสำรวจทุพโภชนกาารตามวัยของนักเรียน จำนวน 65 คน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการแก้ปัญหาภาวะทุพโภชนาการนักเรียน ประจำปีการศึกษา 2565 จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 65-L3038-02-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านดูซงปาแย )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด