กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลตอหลัง


“ โครงการการคัดกรองความเสี่ยงโรคโควิด-19 กลุ่มนักเรียน ครู และบุคลากรทางการศึกษา ”

ตำบลตอหลัง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านดูซงปาแย

ชื่อโครงการ โครงการการคัดกรองความเสี่ยงโรคโควิด-19 กลุ่มนักเรียน ครู และบุคลากรทางการศึกษา

ที่อยู่ ตำบลตอหลัง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 65-L3038-02-03 เลขที่ข้อตกลง 3/2565

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 26 เมษายน 2565 ถึง 30 กันยายน 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการการคัดกรองความเสี่ยงโรคโควิด-19 กลุ่มนักเรียน ครู และบุคลากรทางการศึกษา จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตอหลัง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลตอหลัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการการคัดกรองความเสี่ยงโรคโควิด-19 กลุ่มนักเรียน ครู และบุคลากรทางการศึกษา



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการการคัดกรองความเสี่ยงโรคโควิด-19 กลุ่มนักเรียน ครู และบุคลากรทางการศึกษา " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตอหลัง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 65-L3038-02-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 26 เมษายน 2565 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 29,010.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลตอหลัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ตามที่รัฐบาลได้ประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินในทุกเขตท้องที่ทั่วราชอาณาจักรในปีที่ผ่านมา ตั้งแต่ 26 มมีนาคม 2563 และตามมติคณะรัฐมนตรีได้ขยาย ประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินในทุกเขตท้องที่ทั่วราชอาณาจักรออกไปถึง 30 กันยายน 2564 และในปี 2564 เมื่อวันที่ 2 สิงหาคม 2564 เว็บไซต์ราชกิจจานุเบกษา เผยแพร่คำสั่งศูนย์บริหารสถานการณณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19) ที่ 11/2564 เรื่อง ฟื้นฟูสถานการณ์ที่กำหนดเป็นพื้นที่ควบคุมสูงสุดและเข้มงวด พื้นที่ควบคุมสูงสุด และพื้นที่ควบคุมตามจ้อกำหนดออกตามความในมาตรา 9 แห่งพระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ.2548 ประกาศระบุว่า ตามที่ได้มีการประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินในทุกเขตที่ทั่วราชอาณาจักรตั้งแต่วันที่ 26 มีนาคม พ.ศ.2563 และต่อมาได้ขยายระยะเวลาการบังคับใช้ประกาศสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อโควิด-19 ทวีความรุนแรงมากยิ่งขึ้นในหลายพื้นที่ควบคุมสูงสุดและเข้มงวด ซึ่งขณะนี้มีพื้นที่จังหวัดที่ประกาศเป็นเพื้นที่ควบคุมสูงสุดและเข้มงวดถึง 29 จังหวัด เนื่องจากมีการติดเชื้อแบบกลุ่มใหม่ๆ ในการระบาดเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องส่งผลให้ระบบสาธารณสุขที่ให้บริการรักษาเข้าสู่ภาวะวิกฤติในการให้การดูแลผู้ป่วย ทั้งขาดแคลนอุปกรณ์ที่จำเป็นบุคลากรและสถานที่ที่ให้การรักษาที่อัตราครองเตียงสูงยิ่งขึ้น มีผลกระทบขยายวงกว้างไปยังทุกจังหวัดในประเทศ ซึ่งจังหวัดปัตตานีอยู่ในพื้นทที่ควบคุมีสูงสุดและเข้มงวดด้วย อีกทั้งยังมีรายงานจำนวนผู้ติดเชื้อรายวันอย่างต่อเนื่อง ดังนั้นเพื่อเป็นกการร่วมมือหยุดการแพร่ระบาดเพิ่มประสิทธิภาพการดูแลรักษาเชิงรุุกและการป้องกันไม่ให้เกิดผู้ติดเชื่ออรายใหม่ ซึ่งมาจากการปฏิบัติตนไม่ถูกต้องของบุคคลทั่วไปและผู้ที่มีสุขภาพอ่อนแอ โดยมีภาวะโรคประจำตัวที่มีความเสี่ยบสูงใน 7 กลุ่มโรค เช่น เบาหวาน ความดันโลหิตสูง และโรคทางเดินหายใจ กลุ่มผู้สูงอายุ ตามนิยามผู้สัมผัสใกล้ชิดที่มีความเสี่ยงต่อการรับเชื้อสูง ของกรมควบคุมโรคกระทรวงสาธารณสุขจึงต้องกำหนดมาตรการควบคุมป้องกัน ตามหลัก New Normal และ DMHTT อย่างเข้มงวดเพียงพอต่อการควบคุมโรคอย่างมีประสิทธิภาพ ในการนี้ มีนโบายให้โรงเรียนเปิดเรียนแบบ on-site โดยต้องทำเป็นพื้นที่ปลอดโควิด หรือ covid free setting มีกิจกรรมให้ครู และนักเรียนฉ๊ดวัคซีนป้องกันโควิด-19 ครบถ้วน มีการสุ่มตรวจนักเรียนที่มาเรียน on-site ด้วบชุดตรวจ เพื่อเป็นการดำเนินการเชิงรุกในการป้องกันการแพร่ระบาดของไวรัสโคโรนา (Covid-19) ให้ทันต่อสถานการณ์ปัจจุบัน จึงได้จัดทำโครงการคัดกรองผู้มีความเสี่ยงในการติดเชื้อไวรัสโคโรนา (Covid-19) ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้นักเรียน ครู และบุคลากรในโรงเรียนมีความรู้ คำแนะนำ การดูแลเฝ้าระวังป้องกันตนเองเรื่องโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19)
  2. เพื่อเพิ่มความครอบคลุมในการคัดกรองกลุ่มเสี่ยงนักเรียน ครู และบุคลากร

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดหาวัสดุอุปกรณ์และเวชภัณฑ์เพื่อใช้ในการคัดกรองกลุ่มเสี่ยงในโรงเรียน และอบรมให้ความรู้ในการดูแลตนเองและการคัดกรอง ATK ให้แก่นักเรียนและครูในโรงเรียน
  2. การประเมินการอบรมใหความรู้ในการดูแลตนเอง และการคัดกรอง ATK ให้แก่นักเรียนและครูในโรงเรียน จำนวน 100 คน
  3. การสำรวจการได้รับการคัดกรองและตรวจ ATK ของนักเรียน ครู และบุคลากรในโรงเรียนได้รับการคัดกรองและตรวจ ATK ทุกคน
  4. จัดหาวัสดุอุปกรณ์และเวชภัณฑ์เพื่อใช้ในการคัดกรองกลุ่มเสี่ยงในโรงเรียน และอบรมให้ความรู้ในการดูแลตนเองและการคัดกรอง ATK ให้แก่นักเรียนและครูในโรงเรียน
  5. การประเมินการอบรมใหความรู้ในการดูแลตนเอง และการคัดกรอง ATK ให้แก่นักเรียนและครูในโรงเรียน
  6. ารสำรวจการได้รับการคัดกรองและตรวจ ATK ของนักเรียน ครู และบุคลากรในโรงเรียนได้รับการคัดกรองและตรวจ ATK ทุกคน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 215
กลุ่มวัยทำงาน 19
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.นักเรียน ครู และบุคลากรในโรงเรียนมีความรู้ในการดูแลตรนเอง สามารถป้องกันตนเองจากโรคติดต่อได้ 2. นักเรียน ครู และบุคลากรทางการศึกษาได้รับการเฝ้าระวัง คัดกรองเบื้องต้นด้วย ATK ติดตามดูแลอย่างใกล้ชิด ได้รับความรู้การระบาดของโรคติดเชื้อโควิด-19 เพื่อไม่ให้เป็นพาหนะโรคระบาดในชุมชน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. จัดหาวัสดุอุปกรณ์และเวชภัณฑ์เพื่อใช้ในการคัดกรองกลุ่มเสี่ยงในโรงเรียน และอบรมให้ความรู้ในการดูแลตนเองและการคัดกรอง ATK ให้แก่นักเรียนและครูในโรงเรียน

วันที่ 26 เมษายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมที่ 1 จัดหาวัสดุอุปกรณ์และเวชภัณฑ์เพื่อใช้ในการคัดกรองกลุ่มเสี่ยงในโรงเรียน -ชุดตรวจ ATK (Home use) สำหรับประชาชนทั่วไป จำนวน 234 ชุด ๆละ 55 บาท เป็นเงิน 12,870 บาท -สบู่เหลวล้างมือ 3 เอ็ม ขนาด 3800 มล. จำนวน 2 แกลลอนๆละ 180 บาท เป็นเงิน 360 บาท -เครื่องวัดอุณหภูมิแบบอินฟราเหรด จำนวน 1 อัน อันละ 1,900 บาท เป็นเงิน 1,190 บาท -หน้ากากอนามัย MEDIMASK กล่องละ 50 ชิ้น จำนวน 50 กล่องๆละ 125 บาท เป็นเิงน 6,250 บาท -ไฮเตอร์ ขนาด 5ลิตร จำนวน 2 แกลลอนๆ ละ 440 บาท เป็นเงิน 880 บาท กิจกรรมที่ 2 อบรมให้ความรู้ในการดูแลตนเองและการคัดกรอง ATK  ให้แก่นักเรียนและครูในโรงเรียน -ป้ายไวนิลโครงการ ขนาด 2x1.5 เมตร แมตรละ 300 บาท จำนวน 1 แผ่น เป็นเงิน 900 บาท -ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มในการอบรมให้ความรู้ จำนวน 234 คนๆ ละ 1 มื้อ ๆละ 25 บาท จำนวน 1 ครั้ง เป็นเงิน 5,850 บาท รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 29,010 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ดำเนินงานโครงการตามวัตถุประสงค์

 

234 0

2. การประเมินการอบรมใหความรู้ในการดูแลตนเอง และการคัดกรอง ATK ให้แก่นักเรียนและครูในโรงเรียน

วันที่ 26 เมษายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

จัดดอบรมให้ความรู้ในการดูแลตนเองและการคัดกรอง ATK ให้แก่นักเรียนและครูในโรงเรียน และได้จัดทำแบบประมเินและประเมินความรู้ คำแนะนำ การดูแลเฝ้าระวังป้องันตนเองเรื่องโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19) จำนวน 100 คน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

นักเรียน ครู และบุคลการในโรงเรียนมีความรู้ คำแนะนำ และการดูแลเฝ้าระวังป้องกันตนเองเรื่องโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19) โดยภาพรวมรวม ร้อยละ 96.33 ซึ่งอยู่ในระดับมาก

 

100 0

3. ารสำรวจการได้รับการคัดกรองและตรวจ ATK ของนักเรียน ครู และบุคลากรในโรงเรียนได้รับการคัดกรองและตรวจ ATK ทุกคน

วันที่ 26 เมษายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

คัดกรองและตรวจ ATK ของนักเรียน ครู และบุคลากรในโรงเรียนทุกคน และจัดทำแบบสำรวจการได้รับการคัดกรองและตรวจ ATK นักเรียน ครู และบุคลากรในโรงเรียน จำนวน 234 คน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

นักเรียน ครู และบุคลากรในโรงเรียนได้รับการคัดกรองและตรวจ ATK คิดเป็นร้อยละ 100

 

234 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้นักเรียน ครู และบุคลากรในโรงเรียนมีความรู้ คำแนะนำ การดูแลเฝ้าระวังป้องกันตนเองเรื่องโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19)
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 นักเรียน ครู และบุคลากรในโรงเรียนมีความรู้และการป้องกันโรคระบาด
100.00

 

2 เพื่อเพิ่มความครอบคลุมในการคัดกรองกลุ่มเสี่ยงนักเรียน ครู และบุคลากร
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 นักเรียน ครู และบุคลากรในโรงเรียนได้รับการคัดกรองและตรวจ ATK ทุกคน
100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 234
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 215
กลุ่มวัยทำงาน 19
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้นักเรียน ครู และบุคลากรในโรงเรียนมีความรู้ คำแนะนำ การดูแลเฝ้าระวังป้องกันตนเองเรื่องโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19) (2) เพื่อเพิ่มความครอบคลุมในการคัดกรองกลุ่มเสี่ยงนักเรียน ครู และบุคลากร

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดหาวัสดุอุปกรณ์และเวชภัณฑ์เพื่อใช้ในการคัดกรองกลุ่มเสี่ยงในโรงเรียน และอบรมให้ความรู้ในการดูแลตนเองและการคัดกรอง ATK ให้แก่นักเรียนและครูในโรงเรียน (2) การประเมินการอบรมใหความรู้ในการดูแลตนเอง และการคัดกรอง ATK ให้แก่นักเรียนและครูในโรงเรียน จำนวน 100 คน (3) การสำรวจการได้รับการคัดกรองและตรวจ ATK ของนักเรียน ครู และบุคลากรในโรงเรียนได้รับการคัดกรองและตรวจ ATK ทุกคน (4) จัดหาวัสดุอุปกรณ์และเวชภัณฑ์เพื่อใช้ในการคัดกรองกลุ่มเสี่ยงในโรงเรียน และอบรมให้ความรู้ในการดูแลตนเองและการคัดกรอง ATK ให้แก่นักเรียนและครูในโรงเรียน (5) การประเมินการอบรมใหความรู้ในการดูแลตนเอง และการคัดกรอง ATK ให้แก่นักเรียนและครูในโรงเรียน (6) ารสำรวจการได้รับการคัดกรองและตรวจ ATK ของนักเรียน ครู และบุคลากรในโรงเรียนได้รับการคัดกรองและตรวจ ATK ทุกคน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการการคัดกรองความเสี่ยงโรคโควิด-19 กลุ่มนักเรียน ครู และบุคลากรทางการศึกษา จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 65-L3038-02-03

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านดูซงปาแย )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด