กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ ควบคุมและป้องกันโรคโควิค 19 รพ.สต.บ้านลานช้าง
รหัสโครงการ 2565-L3310-1-
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ รพ.สต.บ้านลานช้าง
วันที่อนุมัติ 2 มิถุนายน 2565
ระยะเวลาดำเนินโครงการ -
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 53,600.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางศุภลักษณา เพชรย้อย
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลเขาชัยสน อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานป้องกัน แก้ปัญหา และฟื้นฟู ในสถานการณ์โควิด-19
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

จากสถานการณ์การระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ หรือที่เรียกอีกชื่อหนี่งว่า COVID-19 ที่กำลังแพร่ระบาดอยู่ทั่วโลกในขณะนี้ มีความรุนแรงเทียบเท่าโรคซาร์ส มากที่สุด ทำให้ผู้ป่วยมีอาการปอดอักเสบรุนแรงจนถึงแก่ชีวิตได้ ซึ่งองค์การอนามัยโลก ยังไม่สามารถหาที่มาของเชื้ออย่างชัดเจนได้ และปัจจุบันเชื้อไวรัสนี้สามารถแพร่กระจายจากคนสู่คนได้ จากการถูกไอ จาม หรือสัมผัสกับสารคัดหลั่งของคนที่ป่วย
จากสถิติการเกิดโรคในพื้นที่รับผิดชอบรพ.สต.บ้านลานช้าง พบว่ามีจำนวนผู้ป่วยเพิ่มขึ้นเป็นลำดับ เดือน มีนาคม- เดือน เมษายน 2565 มีผู้ป่วยATK+ทั้งหมดจำนวน 504 คน รักษาHome isolation จำนวน 282 คน นอนรพ จำนวน 10 คน รักษาแบบ OP Self Isolation จำนวน 196 คน รักษาCommunity Isolation จำนวน 16 คน ดังนั้น เราควรดูแลตนเอง เพื่อให้ร่างกายห่างไกลจากเชื้อไวรัสโคโรนา หรือ โรคไวรัส COVID – 19 เนื่องจากทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านลานช้างได้รับงบสนับสนุนอุปกรณ์ป้องกันการติดเชื้อโควิดแก่เจ้าหน้าที่ไม่เพียงพอในการปฏิบัติงานในการดูรักษากลุ่มเสี่ยงและผู้ป่วยโควิค19 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านลานช้าง จึงได้จัดโครงการนี้ขึ้น เพื่อให้ประชาชนได้มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคโควิด-๑๙ สามารถดูแลตนเองได้อย่างถูกต้องและเผยแพร่ความรู้ให้กับครอบครัวและชุมชนเพื่อสร้างความปลอดภัยแก่ประชาชน และเป็นการลดการติดต่อแพร่ระบาดของโรคโควิด-๑๙ และเพื่อความปลอดภัยสำหรับผู้ปฏิบัติงาน

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อป้องกันโรคระบาดในพื้นที่รับผิดชอบ

ร้อยละของการเกิดโรคระบาดลดลงและสามารถควบคุมโรคระบาดภายใน 28 วัน ลดภาวะแทรกซ้อนในกลุ่มผู้ป่วย และประชาชนมีความเข้าใจในการควบคุมและการรักษาโรคโควิค19ได้ถูกต้อง

0.00
2 เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจและการป้องกันแก่ อสมเกี่ยวกับโรคโควิค 19

อสม.ถ่ายทอดความรู้สู่ครัวเรือนรับผิดชอบได้ถูกต้อง และปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างในชุมชนในการป้องกันและควบคุมโรคได้ถูกต้อง

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 53,600.00 0 0.00
??/??/???? กิจกรรมจัดกลุ่มให้ความรู้แก่ อสม. จำนวน 80 คน รุ่นละ40 คน จำนวน 2 รุ่น ๆ ละ 1 วัน 0 53,600.00 -

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. อสม.มีความรูเกี่ยวกับโรคโควิค19และสามารถให้ความรู้และดูแลคนในพื้นที่รับผิดชอบได้ถูกต้อง

  2. กลุ่มป่วยไม่มีภาวะแทรกซ้อน

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 31 พ.ค. 2565 15:31 น.