กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโตโรนา (Covid 19) ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กนูรุลฮูดา ”
ตำบลท่าสาป อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา



หัวหน้าโครงการ
นางสาวรอมือละห์ แตเสาะ




ชื่อโครงการ โครงการป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโตโรนา (Covid 19) ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กนูรุลฮูดา

ที่อยู่ ตำบลท่าสาป อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 3/2565

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2565

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโตโรนา (Covid 19) ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กนูรุลฮูดา จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่าสาป อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบลเทศบาลตำบลท่าสาป ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโตโรนา (Covid 19) ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กนูรุลฮูดา



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโตโรนา (Covid 19) ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กนูรุลฮูดา " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่าสาป อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2565 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 17,510.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบลเทศบาลตำบลท่าสาป เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ตามที่รัฐบาลได้ประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินในทุกเขตท้องที่ทั่วราชอณาจักรในปีที่ผ่านมา ตั้งแต่ 26 มีนาคม 2563 และต่อมาได้ขยายระยะการบังคับใช้ประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินในทุกเขตท้องที่ทั่วราชอณาจักร ออกไปเป็นระยะๆ อย่างต่อเนื่องจนถึงวันที่ 31 มกราคม 2565 โดยเมื่อวันที่ 8 มกราคม 2565 เว็บไซต์ราชกิจจานุเบกษา ได้ออกข้อกำหนดออกตามความมาตรา 9 แห่งพระราชกำหนดการบริหารในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ.2548 (ฉบับที่ 41) และคำสั่งศูนย์บริหารสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19) ที่ 1/2565 เรื่อง พื้นที่สถานการณ์ที่กำหนดเป็นพื้นที่ควบคุม และพื้นที่นำร่องด้านการท่องเที่ยว ตามข้อกำหนดออกตามความในมาตรา 9 แห่งพระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. 2548 ประกาศระบุว่า ตามที่ได้มีการประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินในทุกเขตท้องที่ทั่วราชอาณาจักรตั้งแต่วันที่ 26 มีนาคม พ.ศ. 2563 และต่อมาได้ขยายระยะเวลาการบังคับใช้ประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินดังกล่าวออกไปจนถึงวันที่ 31 มกราคม 2565 นั้น สถานการณ์ระบาดของโรคติดเชื้อโควิด-19 ได้เปลี่ยนแปลงและมีความรุนแรงขึ้นเนื่องจากการกลายพันธ์ของเชื้อโควิด-19 สายพันธุ์โอมิครอน (Omicron) ซึ่งแพร่ระบาดกระจายได้รวดเร็วและมีโอกาสติดเชื้อได้ง่ายกว่าสายพันธ์อื่นและขณะนี้ประเทศไทยพบติดเชื้อเพิ่มมากขึ้นทุกภูมิภาคทั่วประเทศ ประกอบกับขณะนี้ประชากรยังได้รับวัคซีนเข็มที่ 3 (Booster Dose) ยังไม่มากพอ ในขณะเดียวกันการจัดการศึกษาของประเทศก็จำเป็นจะต้องดำเนินการต่อไปอย่างต่อเนื่องแม้ว่าในระยะที่ผ่านมารัฐบาลได้กำหนดให้สถานศึกษาได้ใช้วิธีการเรียนการสอนที่ในระบบ Online เพื่อเป็นการแก้ปัญหาในระดับหนึ่ง แต่อย่างไรก็ตามการเรียนการสอนในรูปแบบ On Site ยังคงเป็นวิธีการจัดการเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพสูงสุด รัฐบาลมีนโยบายให้โรงเรียนที่มีความพร้อมสามารถเปิดการเรียนการสอนแบบ On-site ตามแนวทางการเปิดสถานศึกษาระดับปฐมวัยสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (โรงเรียนที่จัดการศึกษาระดับปฐมวับและศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก) ณ สถานที่ตั้ง (ON site)  ในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID – 19) ตามหนังสือที่ มท 0816.4/ว 608 ลงวันที่ 4 มีนาคม 2565 กำหนดให้ครูและนักเรียนฉีดวัคซีนป้องกันโรคโควิด-19 ครบถ้วน และดำเนินการตาม 6 มาตรการหลัก 6 มาตรการเสริม และ 7 มาตรการเข้มงวด อย่างเคร่งครัด ดังนั้นเพื่อเป็นการป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (covid-19) ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กนูรุลฮูดา และเพิ่มประสิทธิภาพการดูแลค้นหาและรักษาเชิงรุก ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กนูรุลฮูดา จึงกำหนดมาตรการควบคุมและป้องกันโรคของบุคลากรและนักเรียน ตามหลัก New Normal และ DMHTT อย่างเข้มงวดและเพื่อให้สามารถค้นหาผู้ติดเชื้อในเชิงรุกได้ทันท่วงทีจึงได้จัดทำโครงการป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (covid-19) ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กนูรุลฮูดา ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 56
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    นักเรียน ครู และบุคลากรได้รับการเฝ้าระวัง และป้องกันการการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 และได้รับการตรวจคัดกรองโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ด้วยชุดตรวจ ATK และได้รับการดูแลติดตามอย่างใกล้ชิด เพื่อป้องกันการแพร่ระบาดในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและชุมชน


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 56
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 56
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโตโรนา (Covid 19) ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กนูรุลฮูดา จังหวัด ยะลา

    รหัสโครงการ

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสาวรอมือละห์ แตเสาะ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด