โครงการ TO BE NUBER ONE ประจำปี 2565 (เป็นหนึ่งโดยไม่พึ่งยาเสพติด)
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการ TO BE NUBER ONE ประจำปี 2565 (เป็นหนึ่งโดยไม่พึ่งยาเสพติด) ”
ตำบลลำใหม่ อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นายดุษฎี ปาลกาลย์
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลำใหม่
กันยายน 2565
ชื่อโครงการ โครงการ TO BE NUBER ONE ประจำปี 2565 (เป็นหนึ่งโดยไม่พึ่งยาเสพติด)
ที่อยู่ ตำบลลำใหม่ อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 65-L4141-01-07 เลขที่ข้อตกลง 010/2565
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2565 ถึง 30 กันยายน 2565
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการ TO BE NUBER ONE ประจำปี 2565 (เป็นหนึ่งโดยไม่พึ่งยาเสพติด) จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลลำใหม่ อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลำใหม่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการ TO BE NUBER ONE ประจำปี 2565 (เป็นหนึ่งโดยไม่พึ่งยาเสพติด)
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการ TO BE NUBER ONE ประจำปี 2565 (เป็นหนึ่งโดยไม่พึ่งยาเสพติด) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลลำใหม่ อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 65-L4141-01-07 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2565 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 9,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลำใหม่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัญหายาเสพติดกำลังแพร่ระบาดอย่างหนัก โดยเฉพาะกับเด็กและเยาวชนที่กำลังจะโตขึ้นไปเป็นอนาคตที่ดีของชาติ ด้วยพระอัจฉริยภาพของทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญาสิริวัฒนาพรรณวดี ที่มีสายพระเนตรอันยาวไกลทรงตระหนักและทรงห่วงใยในปัญหานี้มาก จึงทรงพระกรุณาธิคุณ รับเป็นองค์ประธานโครงการรณรงค์ป้องกันและแก้ปัญหายาเสพติด ซึ่งปัจจุบันได้ใช้ชื่อเพื่อให้ง่ายต่อการรณรงค์ว่า โครงการ TO BE NUMBER ONE เพื่อรณรงค์ป้องกันและแก้ปัญหายาเสพติด โดยทรงมีพระประสงค์มุ่งเน้นการรณรงค์ในกลุ่มเป้าหมายหลัก คือวัยรุ่นและเยาวชน โดยกลวิธีสร้างกระแสการแสดงพลังอย่างถูกต้องโดยไม่ข้องแวะกับยาเสพติด
ดังนั้น เพื่อเป็นการสนองพระดำริของทูลกรุหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญาสิริวัฒนาพรรณวดี โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลำใหม่ จึงจัดทำโครงการ TO BE NUBER ONE ประจำปี2565 (เป็นหนึ่งโดยไม่พึ่งยาเสพติด) เพื่อสร้างโอกาส สร้างทางเลือกของเด็กและเยาวชน ใช้ชีวิตอย่างสร้างสรรค์ มีความสุข และปลอดจากสิ่งเสพติดและอบายมุข เพื่อให้เกิดค่านิยมของการ เป็นหนึ่ง โดยไม่ต้องพึ่งยาเสพติด
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ความรู้กับเด็กและเยาวชนเรื่องการปัองกันและการแก้ปัญหายาเสพติด
- เพื่อส่งเสริมกิจกรรม To Be Number One ให้กับเด็กและเยาวชน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมให้ความรู้และกิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
60
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
กลุ่มเยาวชนมีความรู้เรื่องการป้องกันและแก้ปัญหายาเสพติด และมีกิจกรรมยามว่าง สามารถลดพฤติกรรมที่เสี่ยงต่อยาเสพติดได้
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. อบรมให้ความรู้และกิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์
วันที่ 25 สิงหาคม 2565 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
จากการดำเนินงานโครงการ TO BE NUBER ONE ประจำปี 2565 (เป็นหนึ่งโดยไม่พึ่งยาเสพติด) ในวันที่ 25 - 26 สิงหาคม 2555 ณ ห้องประชุมโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลำใหม่ จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่เด็กและเยาวชนจำนวน 60 คน (2 รุ่น) เรื่องโทษ/พิษภัยของยาเสพติด และวิธีการสังเกตอาการผู้ติดยาเสพติด การตรวจพิสูจน์หาสารเสพติดในร่างกาย และการบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติด แลกเปลี่ยนเรียนรู้และถอดบทเรียนร่วมกัน โดยวิทยากร นางสาวรุสนานี สาแม ตำแหน่ง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ เป็นการสร้างโอกาส สร้างทางเลือกของเด็กและเยาวชน ใช้ชีวิตอย่างสร้างสรรค์ มีความสุข และปลอดจากสิ่งเสพติดและอบายมุข เพื่อให้เกิดค่านิยมของการ เป็นหนึ่ง โดยไม่ต้องพึ่งยาเสพติด
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัดโครงการ TO BE NUBER ONE ประจำปี 2555 เป็นหนึ่งโดยไม่พึ่งยาเสพติด)
เด็กและเยาวชนมีความรู้เรื่องการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด ร้อยละ 95.00 / ผ่านเกณฑ์
เด็กและเยาวชนมีความพึงพอใจต่อโครงการมากที่สุด ร้อยละ 96.67/ผ่านเกณฑ์
60
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้ความรู้กับเด็กและเยาวชนเรื่องการปัองกันและการแก้ปัญหายาเสพติด
ตัวชี้วัด : อัตราความรู้หลังการอบรมของเยาวชน ร้อยละ 80
80.00
95.00
2
เพื่อส่งเสริมกิจกรรม To Be Number One ให้กับเด็กและเยาวชน
ตัวชี้วัด : อัตราความพึงพอใจของเด็กและเยาวชน ร้อยละ 80
80.00
96.67
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
60
60
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
60
60
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ความรู้กับเด็กและเยาวชนเรื่องการปัองกันและการแก้ปัญหายาเสพติด (2) เพื่อส่งเสริมกิจกรรม To Be Number One ให้กับเด็กและเยาวชน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้และกิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการ TO BE NUBER ONE ประจำปี 2565 (เป็นหนึ่งโดยไม่พึ่งยาเสพติด) จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 65-L4141-01-07
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายดุษฎี ปาลกาลย์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการ TO BE NUBER ONE ประจำปี 2565 (เป็นหนึ่งโดยไม่พึ่งยาเสพติด) ”
ตำบลลำใหม่ อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นายดุษฎี ปาลกาลย์
กันยายน 2565
ที่อยู่ ตำบลลำใหม่ อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 65-L4141-01-07 เลขที่ข้อตกลง 010/2565
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2565 ถึง 30 กันยายน 2565
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการ TO BE NUBER ONE ประจำปี 2565 (เป็นหนึ่งโดยไม่พึ่งยาเสพติด) จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลลำใหม่ อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลำใหม่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการ TO BE NUBER ONE ประจำปี 2565 (เป็นหนึ่งโดยไม่พึ่งยาเสพติด)
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการ TO BE NUBER ONE ประจำปี 2565 (เป็นหนึ่งโดยไม่พึ่งยาเสพติด) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลลำใหม่ อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 65-L4141-01-07 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2565 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 9,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลำใหม่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัญหายาเสพติดกำลังแพร่ระบาดอย่างหนัก โดยเฉพาะกับเด็กและเยาวชนที่กำลังจะโตขึ้นไปเป็นอนาคตที่ดีของชาติ ด้วยพระอัจฉริยภาพของทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญาสิริวัฒนาพรรณวดี ที่มีสายพระเนตรอันยาวไกลทรงตระหนักและทรงห่วงใยในปัญหานี้มาก จึงทรงพระกรุณาธิคุณ รับเป็นองค์ประธานโครงการรณรงค์ป้องกันและแก้ปัญหายาเสพติด ซึ่งปัจจุบันได้ใช้ชื่อเพื่อให้ง่ายต่อการรณรงค์ว่า โครงการ TO BE NUMBER ONE เพื่อรณรงค์ป้องกันและแก้ปัญหายาเสพติด โดยทรงมีพระประสงค์มุ่งเน้นการรณรงค์ในกลุ่มเป้าหมายหลัก คือวัยรุ่นและเยาวชน โดยกลวิธีสร้างกระแสการแสดงพลังอย่างถูกต้องโดยไม่ข้องแวะกับยาเสพติด
ดังนั้น เพื่อเป็นการสนองพระดำริของทูลกรุหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญาสิริวัฒนาพรรณวดี โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลำใหม่ จึงจัดทำโครงการ TO BE NUBER ONE ประจำปี2565 (เป็นหนึ่งโดยไม่พึ่งยาเสพติด) เพื่อสร้างโอกาส สร้างทางเลือกของเด็กและเยาวชน ใช้ชีวิตอย่างสร้างสรรค์ มีความสุข และปลอดจากสิ่งเสพติดและอบายมุข เพื่อให้เกิดค่านิยมของการ เป็นหนึ่ง โดยไม่ต้องพึ่งยาเสพติด
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ความรู้กับเด็กและเยาวชนเรื่องการปัองกันและการแก้ปัญหายาเสพติด
- เพื่อส่งเสริมกิจกรรม To Be Number One ให้กับเด็กและเยาวชน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมให้ความรู้และกิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 60 | |
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
กลุ่มเยาวชนมีความรู้เรื่องการป้องกันและแก้ปัญหายาเสพติด และมีกิจกรรมยามว่าง สามารถลดพฤติกรรมที่เสี่ยงต่อยาเสพติดได้
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. อบรมให้ความรู้และกิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์ |
||
วันที่ 25 สิงหาคม 2565 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำจากการดำเนินงานโครงการ TO BE NUBER ONE ประจำปี 2565 (เป็นหนึ่งโดยไม่พึ่งยาเสพติด) ในวันที่ 25 - 26 สิงหาคม 2555 ณ ห้องประชุมโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลำใหม่ จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่เด็กและเยาวชนจำนวน 60 คน (2 รุ่น) เรื่องโทษ/พิษภัยของยาเสพติด และวิธีการสังเกตอาการผู้ติดยาเสพติด การตรวจพิสูจน์หาสารเสพติดในร่างกาย และการบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติด แลกเปลี่ยนเรียนรู้และถอดบทเรียนร่วมกัน โดยวิทยากร นางสาวรุสนานี สาแม ตำแหน่ง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ เป็นการสร้างโอกาส สร้างทางเลือกของเด็กและเยาวชน ใช้ชีวิตอย่างสร้างสรรค์ มีความสุข และปลอดจากสิ่งเสพติดและอบายมุข เพื่อให้เกิดค่านิยมของการ เป็นหนึ่ง โดยไม่ต้องพึ่งยาเสพติด ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัดโครงการ TO BE NUBER ONE ประจำปี 2555 เป็นหนึ่งโดยไม่พึ่งยาเสพติด)
|
60 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้ความรู้กับเด็กและเยาวชนเรื่องการปัองกันและการแก้ปัญหายาเสพติด ตัวชี้วัด : อัตราความรู้หลังการอบรมของเยาวชน ร้อยละ 80 |
80.00 | 95.00 |
|
|
2 | เพื่อส่งเสริมกิจกรรม To Be Number One ให้กับเด็กและเยาวชน ตัวชี้วัด : อัตราความพึงพอใจของเด็กและเยาวชน ร้อยละ 80 |
80.00 | 96.67 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 60 | 60 | |
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 60 | 60 | |
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ความรู้กับเด็กและเยาวชนเรื่องการปัองกันและการแก้ปัญหายาเสพติด (2) เพื่อส่งเสริมกิจกรรม To Be Number One ให้กับเด็กและเยาวชน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้และกิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการ TO BE NUBER ONE ประจำปี 2565 (เป็นหนึ่งโดยไม่พึ่งยาเสพติด) จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 65-L4141-01-07
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายดุษฎี ปาลกาลย์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......