กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาบัง


“ โครงการพัฒนามาตรฐานคุณภาพบริการ เพื่อแม่ลูกปลอดภัย ห่างไกล ภาวะโลหิตจางตำบลกาบัง ประจำปี2565 ”

ตำบลกาบัง อำเภอกาบัง จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาวอาวาตีฟ เจ๊ะอีแต

ชื่อโครงการ โครงการพัฒนามาตรฐานคุณภาพบริการ เพื่อแม่ลูกปลอดภัย ห่างไกล ภาวะโลหิตจางตำบลกาบัง ประจำปี2565

ที่อยู่ ตำบลกาบัง อำเภอกาบัง จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 022/2565 เลขที่ข้อตกลง 022/2565

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2565 ถึง 30 กันยายน 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการพัฒนามาตรฐานคุณภาพบริการ เพื่อแม่ลูกปลอดภัย ห่างไกล ภาวะโลหิตจางตำบลกาบัง ประจำปี2565 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกาบัง อำเภอกาบัง จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาบัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนามาตรฐานคุณภาพบริการ เพื่อแม่ลูกปลอดภัย ห่างไกล ภาวะโลหิตจางตำบลกาบัง ประจำปี2565



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการพัฒนามาตรฐานคุณภาพบริการ เพื่อแม่ลูกปลอดภัย ห่างไกล ภาวะโลหิตจางตำบลกาบัง ประจำปี2565 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกาบัง อำเภอกาบัง จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 022/2565 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2565 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 32,770.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาบัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์ ก่อให้เกิดผลกระทบต่อทั้งสุขภาพของมารดา และทารกในครรภ์ หญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะโลหิตจางจะมีความเสี่ยงต่อการคลอดก่อนกำหนด ทารกแรกคลอดมีน้ำหนักต่ำกว่า 2,500 กรัม หญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะโลหิตจางอย่างรุนแรงจะมีโอกาสเสี่ยงต่อการตกเลือดในระหว่างคลอด และมีโอกาสติดเชื้อในระยะหลังคลอดสูง จากรายงานของงานอนามัยแม่และเด็ก พบว่าสาเหตุการตายของมารดา อันดับหนึ่ง คือ ภาวะตกเลือดหลังคลอดและจากสถิติประจำปีงบประมาณ 2563 ของจังหวัดยะลาพบว่า อัตราหญิงตั้งครรภ์มีภาวะโลหิตจาง เท่ากับร้อยละ 17.65 และระดับอำเภอกาบังอยู่ที่ร้อยละ12.68 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ที่ตั้งไว้ไม่เกินร้อยละ 10 และจากผลการดำเนินงานแม่และเด็ก 3 ปีย้อนหลังของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านบันนังดามา พบว่า ภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์ ตั้งแต่ปีงบประมาณ 2562 เท่ากับร้อยละ 16.80 ปีงบประมาณ 2563 เท่ากับร้อยละ 17.65 และในปีงบประมาณ 2564 ที่ผ่านมา เท่ากับร้อยละ 17.85 ซึ่งมีค่าสูงกว่าเป้าหมายที่กำหนด ( เป้าหมายน้อยกว่า 10 % )ซึ่งบ่งชี้ให้เห็นว่าภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์เป็นปัญหาสำคัญที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพของมารดาและทารก ทำให้เกิดการคลอดทารกก่อนกำหนด ทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม แล้ว ยังมีผลกระทบถึงพัฒนาการเด็กและสติปัญญาในการเรียนรู้ต่ำ ซึ่งปัญหาดังกล่าวส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของมารดาและทารกในอำเภอกาบัง
ดังนั้นเพื่อให้การดำเนินงานอนามัยแม่และเด็ก บรรลุตามเป้าหมายที่กำหนด และเพื่อเป็นการแก้ไขปัญหางานอนามัยแม่และเด็กอย่างต่อเนื่อง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านบันนังดามา จึงได้จัดทำโครงการ แก้ไขปัญหาภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์ขึ้นภายใต้โครงการ พัฒนามาตรฐานคุณภาพบริการ เพื่อแม่ลูกปลอดภัย ห่างไกล ภาวะโลหิตจางโดยให้ความรู้แก่กลุ่มอาสาสมัครสาธารณสุขผู้นำชุมชนแกนนำสตรีและหญิงมีครรภ์ในเขตรับผิดชอบ มีความรู้ในงานอนามัยแม่และเด็ก การประชาสัมพันธ์ และการสร้างกระแสอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้หญิงมีครรภ์ฝากครรภ์ทันทีเมื่อทราบว่าตั้งครรภ์การฝากครรภ์อย่างสม่ำเสมอตามเกณฑ์จะช่วยให้ทราบถึงการเจริญเติบโตรวมถึงความผิดปกติของทารกในครรภ์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์มีความรู้เกี่ยวกับอันตรายจากการขาดธาตุเหล็ก รวมทั้งการดูแลด้านโภชนาการ เพื่อป้องกัน ภาวะโลหิตจางในแม่และเด็ก
  2. 2. เพื่อส่งเสริมการฝากครรภ์ครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์
  3. 3. เพื่อการเฝ้าระวังการคลอดก่อนกำหนดและสามารถประเมินภาวะเสี่ยงซีดขณะตั้งครรภ์

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดอบรม
  2. ติดตามการเยี่ยมโดยแกนนำหมู่บ้านด้านอนามัยแม่และเด็ก

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 100
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
แกนนำหมู่บ้านด้านอนามัยแม่และเด็ก 12

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์ลดลงกว่าปีที่ผ่านมา ไม่เกินร้อยละ 10


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์มีความรู้เกี่ยวกับอันตรายจากการขาดธาตุเหล็ก รวมทั้งการดูแลด้านโภชนาการ เพื่อป้องกัน ภาวะโลหิตจางในแม่และเด็ก
ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละ 80 หญิงตั้งครรภ์มีความรู้เกี่ยวกับอันตรายจากการขาดธาตุเหล็กและโภชการที่เหมาะเพื่อป้องกันภาวะโลหิตจางในแม่และเด็ก ผ่านการประเมินจากแบบทดสอบก่อน/หลังเข้าอบรม 2.ร้อยละของภาวะโลหิตจางลดลงกว่าปีที่ผ่านมา
5.00 10.00

 

2 2. เพื่อส่งเสริมการฝากครรภ์ครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์
ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละ 80 มีการฝากครรภ์ครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์
5.00 10.00

 

3 3. เพื่อการเฝ้าระวังการคลอดก่อนกำหนดและสามารถประเมินภาวะเสี่ยงซีดขณะตั้งครรภ์
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 หญิงตั้งครรภ์ได้รับการดูแล และติดตามจนถึงหลังคลอด
5.00 10.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 112
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 100
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -
แกนนำหมู่บ้านด้านอนามัยแม่และเด็ก 12

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์มีความรู้เกี่ยวกับอันตรายจากการขาดธาตุเหล็ก รวมทั้งการดูแลด้านโภชนาการ  เพื่อป้องกัน ภาวะโลหิตจางในแม่และเด็ก (2) 2. เพื่อส่งเสริมการฝากครรภ์ครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์ (3) 3. เพื่อการเฝ้าระวังการคลอดก่อนกำหนดและสามารถประเมินภาวะเสี่ยงซีดขณะตั้งครรภ์

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดอบรม (2) ติดตามการเยี่ยมโดยแกนนำหมู่บ้านด้านอนามัยแม่และเด็ก

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการพัฒนามาตรฐานคุณภาพบริการ เพื่อแม่ลูกปลอดภัย ห่างไกล ภาวะโลหิตจางตำบลกาบัง ประจำปี2565 จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 022/2565

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวอาวาตีฟ เจ๊ะอีแต )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด